วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 04:22  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 17 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ค. 2013, 20:15 
 
ออฟไลน์
สมาชิกใหม่
สมาชิกใหม่
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 ม.ค. 2012, 15:36
โพสต์: 1


 ข้อมูลส่วนตัว


เท่าที่ผมเข้าใจ

วิปัสสนา สามารถเข้าถึง ปัญญามาก กว่าสมาธิ รึปล่าวครับ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ค. 2013, 20:39 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


onion onion
จิตนิ่งอยู่กับอารมณ์......เป็นสมาธิ

จิตนิ่งรู้อารมณ์.....เป็นวิปัสสนา

วิ....มาจากคำว่าวิเศษ.....สิ่งวิเศษในกายและจิตคือ...ธรรม

ปัสสนา....มาจากคำว่าทัศนา.....ดู เห็น รู้.....เท่ากับ...ปัญญาสัมมาทิฏฐิ

ภาวนา....เจริญ.....เจริญการสังเกต พิจารณา....เท่ากับปัญญาสัมมาสังกัปปะ

วิปัสสนาภาวนา = เจริญการ ดู เห็น รู้ สังเกต พิจารณาสิ่งวิเศษ คือธรรมารมณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกายและใจ ณ ปัจจุบันขณะ ปัจจุบันอารมณ์ จนเห็นธรรมตามความเป็นจริง

ความเป็นจริงของธรรมคือ....เกิด-ดับ....ขยายความเป็น ...อนิจจัง...ทุกขัง...อนัตตา.....

วิปัสสนาภาวนาต้องเห็นหรือ รู้ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จึงจะใช่วิปัสสนาที่แท้จริง

:b27:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 15 พ.ค. 2013, 22:16 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ดูหลักหน่อยน่าจะพอมองเห็นเค้า


สติทำกิจสำคัญทั้งในสมถะ และในวิปัสสนา หากพูดเปรียบเทียบ ระหว่างบทบาทของสติในสมถะ กับ ในวิปัสสนา ก็...


ในสมถะ สติกุมจิตไว้กับอารมณ์ หรือดึงอารมณ์ไว้กับจิต เพียงเพื่อให้จิตเพ่งแน่วแน่หรือจับแนบสนิทอยู่กับอารมณ์นั้น นิ่งสงบ ไม่ส่าย ไม่ซ่านไปที่อื่น เมื่อจิตแน่วแน่แนบสนิทอยู่กับอารมณ์นั้น เป็นหนึ่งเดียวต่อเนื่องไปสม่ำเสมอ ก็เรียกว่าเป็นสมาธิ และเพียงแค่นั้น สมถะก็สำเร็จ


ส่วนในวิปัสสนา สติกำหนดอารมณ์ให้แก่จิต หรือดึงจิตไว้กับอารมณ์เหมือนกัน แต่มุ่งใช้จิตเป็นที่วางอารมณ์ เพื่อเสนออารมณ์ คือจับอารมณ์ไว้ให้ปัญญาตรวจดู โดยใช้จิตที่ตั้งมั่น เป็นที่ทำงาน


หากจะอุปมา

ในกรณีของสมถะ เหมือนเอาเชือกผูกลูกวัวพยศไว้กับหลัก ลูกวัวจะออกไปไหนๆก็ไปไม่ได้ คงวนเวียนอยู่กับหลัก ในที่สุด เมื่อหายพยศ ก็หมอบนิ่งอยู่ที่หลักนั่นเอง จิตเปรียบเหมือนลูกวัวพยศ อารมณ์เหมือนหลัก สติเหมือนเชือก


ส่วนในกรณีของวิปัสสนา เปรียบเหมือนเอาเชือกหรือเครื่องมือ ผูกตรึงคน สัตว์ หรือวัตถุบางอย่าง ไว้กับแท่นหรือเตียง แล้วตรวจดู หรือทำกิจอื่น เช่น ผ่าตัด เป็นต้น ได้ถนัดชัดเจน เชือกหรือเครื่องยึดคือ สติ คนสัตว์หรือวัตถุที่เกี่ยวข้องคือ อารมณ์ แท่นหรือเตียงคือ จิตที่เป็นสมาธิ การตรวจหรือผ่าตัดเป็นต้นคือ ปัญญา

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 พ.ค. 2013, 05:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ดูหลักหน่อยน่าจะพอมองเห็นเค้า
สติทำกิจสำคัญทั้งในสมถะ และในวิปัสสนา หากพูดเปรียบเทียบ ระหว่างบทบาทของสติในสมถะ กับ ในวิปัสสนา ก็...


ในสมถะ สติกุมจิตไว้กับอารมณ์ หรือดึงอารมณ์ไว้กับจิต เพียงเพื่อให้จิตเพ่งแน่วแน่หรือจับแนบสนิทอยู่กับอารมณ์นั้น นิ่งสงบ ไม่ส่าย ไม่ซ่านไปที่อื่น เมื่อจิตแน่วแน่แนบสนิทอยู่กับอารมณ์นั้น เป็นหนึ่งเดียวต่อเนื่องไปสม่ำเสมอ ก็เรียกว่าเป็นสมาธิ และเพียงแค่นั้น สมถะก็สำเร็จ

มันใช่ซะที่ไหนกันเล่า สมถะเป็นลักษณะที่จิตเพ่งหรือรู้ทวารใดทวารหนึ่งในส่วนของรูปหรือกาย
เมื่อจิตเพียรเพ่งแต่ทวารเดียว จะทำให้เกิดอารมณ์เอกัตคตาหรืออารมณ์ว่างๆขึ้น
มันไม่ใช่คุมจิตไว้กับอารมณ์ อารมณ์มันเกิดจากการที่จิตไปเพ่งรูปหรือทวารๆเดี่ยว
และอารมณ์ที่เกิดจาก สมถะไม่ใช่สมาธิตามความหมายของพระพุทธเจ้า

สมาธิที่พระพุทธทรงกล่าวถึงก็คือ การเอาอารมณ์อันเกิดจากทวารทั้งหลาย
มารวมกันเป็นหนึ่ง แบบนี้จึงเรียกว่าสมาธิ หนึ่งมาเป็นหนึ่งเรียกสมถะ หลายๆมาเป็นหนึ่ง
เรียกสมาธิ

กรัชกาย เขียน:
ส่วนในวิปัสสนา สติกำหนดอารมณ์ให้แก่จิต หรือดึงจิตไว้กับอารมณ์เหมือนกัน แต่มุ่งใช้จิตเป็นที่วางอารมณ์ เพื่อเสนออารมณ์ คือจับอารมณ์ไว้ให้ปัญญาตรวจดู โดยใช้จิตที่ตั้งมั่น เป็นที่ทำงาน

วิปัสสนา ไม่ใช่การกำหนดอารมณ์หรือดึงจิตอะไรอย่างที่กรัชกายบอก
วิปัสสนาคือการที่จิตอันเกิดจากปัญญา ไปตามรู้อารมณ์ที่เกิดตามเหตุปัจจัย
โดยไม่ได้บังคับเพี่อให้เกิดหรือไม่ให้เกิด พูดง่ายๆก็คือ ดูอารมณ์ที่เกิดขึ้นแล้วก็จบลงที่ไตรลักษณ์


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 พ.ค. 2013, 05:19 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
จิตนิ่งอยู่กับอารมณ์......เป็นสมาธิ

จิตนิ่งรู้อารมณ์.....เป็นวิปัสสนา

วิ....มาจากคำว่าวิเศษ.....สิ่งวิเศษในกายและจิตคือ...ธรรม

ปัสสนา....มาจากคำว่าทัศนา.....ดู เห็น รู้.....เท่ากับ...ปัญญาสัมมาทิฏฐิ

ภาวนา....เจริญ.....เจริญการสังเกต พิจารณา....เท่ากับปัญญาสัมมาสังกัปปะ

วิปัสสนาภาวนา = เจริญการ ดู เห็น รู้ สังเกต พิจารณาสิ่งวิเศษ คือธรรมารมณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกายและใจ ณ ปัจจุบันขณะ ปัจจุบันอารมณ์ จนเห็นธรรมตามความเป็นจริง

ความเป็นจริงของธรรมคือ....เกิด-ดับ....ขยายความเป็น ...อนิจจัง...ทุกขัง...อนัตตา.....

วิปัสสนาภาวนาต้องเห็นหรือ รู้ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จึงจะใช่วิปัสสนาที่แท้จริง

:b27:


วิ....มาจากคำว่าวิเศษ.....สิ่งวิเศษในกายและจิตคือ...ธรรม

ปัสสนา....มาจากคำว่าทัศนา.....ดู เห็น รู้.....เท่ากับ...ปัญญาสัมมาทิฏฐิ



บาลีเถือน :b9: คุณอโศก ไปเอาคำพูดคำแปลความหมายของศัพท์เหล่านี้ มาแต่ที่ไหนครับเนี่ย พูดเองเออเองหมดเลย :b1: นี่แหละธรรมปฏิรูปตัวบิดาเลย :b14:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 พ.ค. 2013, 08:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูหลักหน่อยน่าจะพอมองเห็นเค้า
สติทำกิจสำคัญทั้งในสมถะ และในวิปัสสนา หากพูดเปรียบเทียบ ระหว่างบทบาทของสติในสมถะ กับ ในวิปัสสนา ก็...


ในสมถะ สติกุมจิตไว้กับอารมณ์ หรือดึงอารมณ์ไว้กับจิต เพียงเพื่อให้จิตเพ่งแน่วแน่หรือจับแนบสนิทอยู่กับอารมณ์นั้น นิ่งสงบ ไม่ส่าย ไม่ซ่านไปที่อื่น เมื่อจิตแน่วแน่แนบสนิทอยู่กับอารมณ์นั้น เป็นหนึ่งเดียวต่อเนื่องไปสม่ำเสมอ ก็เรียกว่าเป็นสมาธิ และเพียงแค่นั้น สมถะก็สำเร็จ

มันใช่ซะที่ไหนกันเล่า สมถะเป็นลักษณะที่จิตเพ่งหรือรู้ทวารใดทวารหนึ่งในส่วนของรูปหรือกาย
เมื่อจิตเพียรเพ่งแต่ทวารเดียว จะทำให้เกิดอารมณ์เอกัตคตาหรืออารมณ์ว่างๆขึ้น
มันไม่ใช่คุมจิตไว้กับอารมณ์ อารมณ์มันเกิดจากการที่จิตไปเพ่งรูปหรือทวารๆเดี่ยว
และอารมณ์ที่เกิดจาก สมถะไม่ใช่สมาธิตามความหมายของพระพุทธเจ้า

สมาธิที่พระพุทธทรงกล่าวถึงก็คือ การเอาอารมณ์อันเกิดจากทวารทั้งหลาย
มารวมกันเป็นหนึ่ง แบบนี้จึงเรียกว่าสมาธิ หนึ่งมาเป็นหนึ่งเรียกสมถะ หลายๆมาเป็นหนึ่ง
เรียกสมาธิ

กรัชกาย เขียน:
ส่วนในวิปัสสนา สติกำหนดอารมณ์ให้แก่จิต หรือดึงจิตไว้กับอารมณ์เหมือนกัน แต่มุ่งใช้จิตเป็นที่วางอารมณ์ เพื่อเสนออารมณ์ คือจับอารมณ์ไว้ให้ปัญญาตรวจดู โดยใช้จิตที่ตั้งมั่น เป็นที่ทำงาน

วิปัสสนา ไม่ใช่การกำหนดอารมณ์หรือดึงจิตอะไรอย่างที่กรัชกายบอก
วิปัสสนาคือการที่จิตอันเกิดจากปัญญา ไปตามรู้อารมณ์ที่เกิดตามเหตุปัจจัย
โดยไม่ได้บังคับเพี่อให้เกิดหรือไม่ให้เกิด พูดง่ายๆก็คือ ดูอารมณ์ที่เกิดขึ้นแล้วก็จบลงที่ไตรลักษณ์



ถามโฮฮับหน่อย

อารมณ์ แปลว่าอะไร ได้แก่อะไรบ้าง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 พ.ค. 2013, 10:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูหลักหน่อยน่าจะพอมองเห็นเค้า
สติทำกิจสำคัญทั้งในสมถะ และในวิปัสสนา หากพูดเปรียบเทียบ ระหว่างบทบาทของสติในสมถะ กับ ในวิปัสสนา ก็...


ในสมถะ สติกุมจิตไว้กับอารมณ์ หรือดึงอารมณ์ไว้กับจิต เพียงเพื่อให้จิตเพ่งแน่วแน่หรือจับแนบสนิทอยู่กับอารมณ์นั้น นิ่งสงบ ไม่ส่าย ไม่ซ่านไปที่อื่น เมื่อจิตแน่วแน่แนบสนิทอยู่กับอารมณ์นั้น เป็นหนึ่งเดียวต่อเนื่องไปสม่ำเสมอ ก็เรียกว่าเป็นสมาธิ และเพียงแค่นั้น สมถะก็สำเร็จ

มันใช่ซะที่ไหนกันเล่า สมถะเป็นลักษณะที่จิตเพ่งหรือรู้ทวารใดทวารหนึ่งในส่วนของรูปหรือกาย
เมื่อจิตเพียรเพ่งแต่ทวารเดียว จะทำให้เกิดอารมณ์เอกัตคตาหรืออารมณ์ว่างๆขึ้น
มันไม่ใช่คุมจิตไว้กับอารมณ์ อารมณ์มันเกิดจากการที่จิตไปเพ่งรูปหรือทวารๆเดี่ยว
และอารมณ์ที่เกิดจาก สมถะไม่ใช่สมาธิตามความหมายของพระพุทธเจ้า

สมาธิที่พระพุทธทรงกล่าวถึงก็คือ การเอาอารมณ์อันเกิดจากทวารทั้งหลาย
มารวมกันเป็นหนึ่ง แบบนี้จึงเรียกว่าสมาธิ หนึ่งมาเป็นหนึ่งเรียกสมถะ หลายๆมาเป็นหนึ่ง
เรียกสมาธิ

กรัชกาย เขียน:
ส่วนในวิปัสสนา สติกำหนดอารมณ์ให้แก่จิต หรือดึงจิตไว้กับอารมณ์เหมือนกัน แต่มุ่งใช้จิตเป็นที่วางอารมณ์ เพื่อเสนออารมณ์ คือจับอารมณ์ไว้ให้ปัญญาตรวจดู โดยใช้จิตที่ตั้งมั่น เป็นที่ทำงาน

วิปัสสนา ไม่ใช่การกำหนดอารมณ์หรือดึงจิตอะไรอย่างที่กรัชกายบอก
วิปัสสนาคือการที่จิตอันเกิดจากปัญญา ไปตามรู้อารมณ์ที่เกิดตามเหตุปัจจัย
โดยไม่ได้บังคับเพี่อให้เกิดหรือไม่ให้เกิด พูดง่ายๆก็คือ ดูอารมณ์ที่เกิดขึ้นแล้วก็จบลงที่ไตรลักษณ์



ถามโฮฮับหน่อย

อารมณ์ แปลว่าอะไร ได้แก่อะไรบ้าง

อารมณ์ คือน้องของพ่อ ที่ชื่อ...รมณ์ อารมณ์อาจเป็นผู้หญิงหรือผู้ชายก็ได้ :b9:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 พ.ค. 2013, 10:41 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว




so555.gif
so555.gif [ 4.35 KiB | เปิดดู 7636 ครั้ง ]
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ดูหลักหน่อยน่าจะพอมองเห็นเค้า
สติทำกิจสำคัญทั้งในสมถะ และในวิปัสสนา หากพูดเปรียบเทียบ ระหว่างบทบาทของสติในสมถะ กับ ในวิปัสสนา ก็...


ในสมถะ สติกุมจิตไว้กับอารมณ์ หรือดึงอารมณ์ไว้กับจิต เพียงเพื่อให้จิตเพ่งแน่วแน่หรือจับแนบสนิทอยู่กับอารมณ์นั้น นิ่งสงบ ไม่ส่าย ไม่ซ่านไปที่อื่น เมื่อจิตแน่วแน่แนบสนิทอยู่กับอารมณ์นั้น เป็นหนึ่งเดียวต่อเนื่องไปสม่ำเสมอ ก็เรียกว่าเป็นสมาธิ และเพียงแค่นั้น สมถะก็สำเร็จ

มันใช่ซะที่ไหนกันเล่า สมถะเป็นลักษณะที่จิตเพ่งหรือรู้ทวารใดทวารหนึ่งในส่วนของรูปหรือกาย
เมื่อจิตเพียรเพ่งแต่ทวารเดียว จะทำให้เกิดอารมณ์เอกัตคตาหรืออารมณ์ว่างๆขึ้น
มันไม่ใช่คุมจิตไว้กับอารมณ์ อารมณ์มันเกิดจากการที่จิตไปเพ่งรูปหรือทวารๆเดี่ยว
และอารมณ์ที่เกิดจาก สมถะไม่ใช่สมาธิตามความหมายของพระพุทธเจ้า

สมาธิที่พระพุทธทรงกล่าวถึงก็คือ การเอาอารมณ์อันเกิดจากทวารทั้งหลาย
มารวมกันเป็นหนึ่ง แบบนี้จึงเรียกว่าสมาธิ หนึ่งมาเป็นหนึ่งเรียกสมถะ หลายๆมาเป็นหนึ่ง
เรียกสมาธิ

กรัชกาย เขียน:
ส่วนในวิปัสสนา สติกำหนดอารมณ์ให้แก่จิต หรือดึงจิตไว้กับอารมณ์เหมือนกัน แต่มุ่งใช้จิตเป็นที่วางอารมณ์ เพื่อเสนออารมณ์ คือจับอารมณ์ไว้ให้ปัญญาตรวจดู โดยใช้จิตที่ตั้งมั่น เป็นที่ทำงาน

วิปัสสนา ไม่ใช่การกำหนดอารมณ์หรือดึงจิตอะไรอย่างที่กรัชกายบอก
วิปัสสนาคือการที่จิตอันเกิดจากปัญญา ไปตามรู้อารมณ์ที่เกิดตามเหตุปัจจัย
โดยไม่ได้บังคับเพี่อให้เกิดหรือไม่ให้เกิด พูดง่ายๆก็คือ ดูอารมณ์ที่เกิดขึ้นแล้วก็จบลงที่ไตรลักษณ์



ถามโฮฮับหน่อย

อารมณ์ แปลว่าอะไร ได้แก่อะไรบ้าง

อารมณ์ คือน้องของพ่อ ที่ชื่อ...รมณ์ อารมณ์อาจเป็นผู้หญิงหรือผู้ชายก็ได้ :b9:



คิกๆๆ นั่นๆ ว่าแล้ว ว่าพูดเป็นนกแก้วนกขุนทอง จับแพะชนแกะ จับศัพท์นั่นโยงเข้ากับนี้ สัมมานั่น สัมไปนี่ แต่ไม่รู้ถึงความหมายของเขาเลย

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 พ.ค. 2013, 17:57 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
จิตนิ่งอยู่กับอารมณ์......เป็นสมาธิ

จิตนิ่งรู้อารมณ์.....เป็นวิปัสสนา

วิ....มาจากคำว่าวิเศษ.....สิ่งวิเศษในกายและจิตคือ...ธรรม

ปัสสนา....มาจากคำว่าทัศนา.....ดู เห็น รู้.....เท่ากับ...ปัญญาสัมมาทิฏฐิ

ภาวนา....เจริญ.....เจริญการสังเกต พิจารณา....เท่ากับปัญญาสัมมาสังกัปปะ

วิปัสสนาภาวนา = เจริญการ ดู เห็น รู้ สังเกต พิจารณาสิ่งวิเศษ คือธรรมารมณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกายและใจ ณ ปัจจุบันขณะ ปัจจุบันอารมณ์ จนเห็นธรรมตามความเป็นจริง

ความเป็นจริงของธรรมคือ....เกิด-ดับ....ขยายความเป็น ...อนิจจัง...ทุกขัง...อนัตตา.....

วิปัสสนาภาวนาต้องเห็นหรือ รู้ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จึงจะใช่วิปัสสนาที่แท้จริง

:b27:


วิ....มาจากคำว่าวิเศษ.....สิ่งวิเศษในกายและจิตคือ...ธรรม

ปัสสนา....มาจากคำว่าทัศนา.....ดู เห็น รู้.....เท่ากับ...ปัญญาสัมมาทิฏฐิ



บาลีเถือน :b9: คุณอโศก ไปเอาคำพูดคำแปลความหมายของศัพท์เหล่านี้ มาแต่ที่ไหนครับเนี่ย พูดเองเออเองหมดเลย :b1: นี่แหละธรรมปฏิรูปตัวบิดาเลย :b14:

Onion_L
ผิดแล้ว ขวางธรรมแล้วคุณกรัชกาย ลองไปค้นบาลีมาเทียบดูให้ดีๆ

ระวังนะ จะ ทำกรรมหนักโดยไม่รู้...ตัว
:b34: :b34:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 16 พ.ค. 2013, 18:40 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
จิตนิ่งอยู่กับอารมณ์......เป็นสมาธิ

จิตนิ่งรู้อารมณ์.....เป็นวิปัสสนา

วิ....มาจากคำว่าวิเศษ.....สิ่งวิเศษในกายและจิตคือ...ธรรม

ปัสสนา....มาจากคำว่าทัศนา.....ดู เห็น รู้.....เท่ากับ...ปัญญาสัมมาทิฏฐิ

ภาวนา....เจริญ.....เจริญการสังเกต พิจารณา....เท่ากับปัญญาสัมมาสังกัปปะ

วิปัสสนาภาวนา = เจริญการ ดู เห็น รู้ สังเกต พิจารณาสิ่งวิเศษ คือธรรมารมณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกายและใจ ณ ปัจจุบันขณะ ปัจจุบันอารมณ์ จนเห็นธรรมตามความเป็นจริง

ความเป็นจริงของธรรมคือ....เกิด-ดับ....ขยายความเป็น ...อนิจจัง...ทุกขัง...อนัตตา.....

วิปัสสนาภาวนาต้องเห็นหรือ รู้ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จึงจะใช่วิปัสสนาที่แท้จริง

:b27:


วิ....มาจากคำว่าวิเศษ.....สิ่งวิเศษในกายและจิตคือ...ธรรม

ปัสสนา....มาจากคำว่าทัศนา.....ดู เห็น รู้.....เท่ากับ...ปัญญาสัมมาทิฏฐิ



บาลีเถือน :b9: คุณอโศก ไปเอาคำพูดคำแปลความหมายของศัพท์เหล่านี้ มาแต่ที่ไหนครับเนี่ย พูดเองเออเองหมดเลย :b1: นี่แหละธรรมปฏิรูปตัวบิดาเลย



ผิดแล้ว ขวางธรรมแล้วคุณกรัชกาย ลองไปค้นบาลีมาเทียบดูให้ดีๆ

ระวังนะ จะ ทำกรรมหนักโดยไม่รู้...ตัว



ค้นดูแล้วเปิดดูไวยากรณ์แล้วดิถึงว่าบาลีเถื่อน ถ้ากรัชกายไม่รู้ หรือไม่มั่นใจ จะไม่พูดเพื่อให้เกิดการยึดถือกันผิดๆครับ :b1:

วิปัสสนา (วิ+ปัสส+นา) = วิ เรียกว่าอัพยยศัพท์ จำพวกอุปสัค สำหรับใช้นำหน้านามและกิริยา แปลว่า วิเศษ แจ้ง ต่าง ปัสสะ เป็นธาตุ ปสฺส ธาตุ ในความเห็น (แปลว่าความเห็น) นา ลงปัจจัยนามกิตก์ แปลงไปตามหลักไวยากรณ์ = นา รวมกัน ก็เป็นวิปัสสนา แปลว่า ความเห็นแจ้ง ความเห็นต่าง ความเห็นวิเศษ (ถามว่า เห็นแจ้งในอะไร ตอบ เห็นแจ้งในรูปนาม ตามที่มันเป็น)

แต่คุณอโศกว่า "วิ....มาจากคำว่าวิเศษ.....สิ่งวิเศษในกายและจิตคือ...ธรรม" และว่า "ปัสสนา....มาจากคำว่าทัศนา" กรัชกายจึงว่า เป็นบาลีเถื่อน เป็นวัตถุเดาสุ่ม ทำกรรมหนักแล้วนะครับ ตกนรกนะน่า :b32: เลือกเอาจะเอาขุมไหน :b35:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 พ.ค. 2013, 12:31 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


:b12: :b12: :b12:
วิ แปลว่า วิเศษ แจ้ง ต่าง ปัสสะ เป็นธาตุ ปสฺส ธาตุ ในความเห็น (แปลว่าความเห็น) นา ลงปัจจัยนามกิตก์ แปลงไปตามหลักไวยากรณ์ = นา รวมกัน ก็เป็นวิปัสสนา แปลว่า ความเห็นแจ้ง ความเห็นต่า ความเห็นวิเศษ (ถามว่า เห็นแจ้งในอะไร ตอบ เห็นแจ้งในรูปนาม ตามที่มันเป็น)
:b12: :b12: :b12: ในที่สุดก็แปลเหมือนกัน แต่อธิบายเสียเข้าใจยากจัง เฝ้าคอยดูต่อไปนะครับว่าใครจะได้ไปนรก...ใครจะปิดตายประตูนรก
:b4: :b4:

"หนทางพิสูจน์ ม้า...เวลาพิสูจน์คน"

:b16:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 พ.ค. 2013, 22:12 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ถึงจะแปลถูก....แต่...ที่มาผิด....ถ้าทำข้อสอบอัตนัยเขาก็ไม่ให้คะแนน..นะครับ
s002
และ....ถึงไม่ตกนรก...เพราะแอบโกงนรกโดยคว้าโสดาบันซะก่อน....ก็ไม่ได้หมายความว่าข้อสอบที่มันผิดจะเปลี่ยนเป็นถูกได้..อิอิ...
:b32: :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 พ.ค. 2013, 06:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2011, 14:20
โพสต์: 8583


 ข้อมูลส่วนตัว



.....................................................
พระธรรมคำสอน บัญญัติ ตรัส ไว้ดีแล้ว ไม่ต้องลด ไม่ต้องเพิ่ม ไม่ต้องแก้ไข ใดๆ ทั้งสิ้น


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 พ.ค. 2013, 05:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
asoka เขียน:
จิตนิ่งอยู่กับอารมณ์......เป็นสมาธิ
จิตนิ่งรู้อารมณ์.....เป็นวิปัสสนา

วิ....มาจากคำว่าวิเศษ.....สิ่งวิเศษในกายและจิตคือ...ธรรม

ปัสสนา....มาจากคำว่าทัศนา.....ดู เห็น รู้.....เท่ากับ...ปัญญาสัมมาทิฏฐิ

ภาวนา....เจริญ.....เจริญการสังเกต พิจารณา....เท่ากับปัญญาสัมมาสังกัปปะ

วิปัสสนาภาวนา = เจริญการ ดู เห็น รู้ สังเกต พิจารณาสิ่งวิเศษ คือธรรมารมณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกายและใจ ณ ปัจจุบันขณะ ปัจจุบันอารมณ์ จนเห็นธรรมตามความเป็นจริง

ความเป็นจริงของธรรมคือ....เกิด-ดับ....ขยายความเป็น ...อนิจจัง...ทุกขัง...อนัตตา.....

วิปัสสนาภาวนาต้องเห็นหรือ รู้ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จึงจะใช่วิปัสสนาที่แท้จริง

:b27:


วิ....มาจากคำว่าวิเศษ.....สิ่งวิเศษในกายและจิตคือ...ธรรม

ปัสสนา....มาจากคำว่าทัศนา.....ดู เห็น รู้.....เท่ากับ...ปัญญาสัมมาทิฏฐิ



บาลีเถือน :b9: คุณอโศก ไปเอาคำพูดคำแปลความหมายของศัพท์เหล่านี้ มาแต่ที่ไหนครับเนี่ย พูดเองเออเองหมดเลย :b1: นี่แหละธรรมปฏิรูปตัวบิดาเลย :b14:

กรัชกายนี่ไม่ได้รู้อะไรเลย ไม่ต้องเรื่องพูดเรื่องทางธรรม เอาแค่ทางโลก
ความเข้าใจในการใช้ภาษา ไม่ได้รู้เรื่องของหลักของภาษาแม้แต่นิด
เปรียบเทียบการอธิบายความของคุณโสกะกับกรัชกาย ของกรัชกายนั้นเองที่เป็นบาลีเถื่อน

ลองมาดูว่าใครใช้หลักภาษาที่ถูกต้อง สมมุติเขาให้อธิบายคำว่าไตรลักษณ์
คุณโสกะบอกว่า ไตรลักษณ์คือ ความไม่เที่ยง และความไม่เที่ยงเป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน

แต่กรัชกายมาเถียงคอเป็นเอ็นว่า ไม่ใช่ ไตรลักษณ์มีความหมายว่า ไตรแปลว่าสาม
ลักษณ์แปลว่า ลักษณะ

ลองคิดดูซิครับ ใครมันไม่มีปัญญาเข้าใจหลักการใช้ภาษาครับ

คนหนึ่งกำลังอธิบายที่มาที่ไปของคำศัพท์ตัวนั้นให้ฟัง แต่อีกคนย้ำอยู่กับคำศัพท์
ไม่พยายามเข้าใจความเป็นจริง ไม่รู้สภาวะธรรมเอาซะเลย


อยากให้ดูตัวอย่าง สมมุติทั้งสองเรียกสัตว์ชนิดหนึ่งกรัชกายเรียกว่า"สุนัข"
คุณโสกะเรียกมันว่า "หมา"
คุณโสกะอธิบายถึงที่มาของคำว่า"หมา"ดังนี้ คือมีขน ขาสี่ขา มีเล็บยาวมีหางเห่าโฮ่งๆ
กรัชกายบอกไม่ใช่ เรียกหมาไม่ได้ ต้องเรียกว่าสุนัข ถามว่าทำไมเรียกไม่ได้
กรัชกายบอกว่า อาจารย์ของกรัชกายบอกมาว่า สุแปลว่างาม นัขแปลว่าเล็บ
แบบกรัชกายเขาเรียกว่า บ้าใบ้ไม่เข้าใจการใช้ภาษาของมนุษย์

ที่พี่โฮพูดมาไม่ใช่จะบอกว่า คำอธิบายคุณโสกะถูกหรือผิด
แค่จะบอกว่า คุณโสกะแกรู้จักการใช้ภาษา รู้จักหลักการที่ต้องอธิบายต่อคำศัพท์ที่ใช้
แต่กรัชกายไม่รู้จักหลักการใช้ภาษา ไม่รู้จักความเป็นสากล สิ่งที่กรัชกายกำลังทำอยู่
ไม่ใช่การศึกษาพระธรรม กรัชกายกำลังเล่นแปลคำศัพท์ที่มันไม่เกี่ยวหรือเฉียดใกล้
ธรรมชาติของสภาวะธรรมเอาเลย


ถามหน่อยฝรั่งมันเรียกว่าdogก็คงผิดด้วยล่ะมั้ง
กรัชกายเหมือนตลกคาเฟ่ ที่เล่นมุกทายคำศัพท์ :b9:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 พ.ค. 2013, 21:47 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว




อ อูบาขิ่น.jpg
อ อูบาขิ่น.jpg [ 40.61 KiB | เปิดดู 7405 ครั้ง ]
:b8:
สาธุครับคุณโฮฮับ

อนุโมทนาครับ ท่านกรัชกาย


:b27:
แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 17 โพสต์ ]  ไปที่หน้า 1, 2  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร