วันเวลาปัจจุบัน 28 ก.ค. 2025, 00:27  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 51 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ส.ค. 2013, 15:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


Quote Tipitaka:
[๓๔๖] ดูกรท่านมีอายุทั้งหลาย อากาศอาศัยไม้และอาศัยเถาวัลย์ ดินเหนียวและหญ้า
แวดล้อมแล้ว ย่อมถึงความนับว่า เป็นเรือนฉันใด ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย อากาศอาศัยกระดูก
และอาศัยเอ็นเนื้อและหนังแวดล้อมแล้ว ย่อมถึงความนับว่า รูป ฉันนั้นเหมือนกันแล. ดูกรท่าน
ผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า จักษุอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลายแล้ว และรูปทั้งหลาย
อันเป็นภายนอกย่อมไม่มาสู่คลองจักษุ ทั้งความกำหนดอันเกิดแต่จักษุและรูปนั้นก็ไม่มี ความ
ปรากฏแห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่จักษุ และรูปนั้น ก็ยังมีไม่ได้ก่อน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้ง
หลาย หากว่า จักษุอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลายแล้ว และรูปทั้งหลายอันเป็น
ภายนอก ย่อมมาสู่คลองจักษุ แต่ความกำหนดอันเกิดแต่จักษุ และรูปนั้นไม่มี ความปรากฏ
แห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่จักษุ และรูปนั้นก็ยังมีไม่ได้ก่อน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย
แต่ว่าในกาลใดแลจักษุอันเป็นไปในภายในเป็นของไม่แตกไม่ทำลายแล้ว และรูปทั้งหลายอันเป็น
ภายนอก ย่อมมาสู่คลองจักษุ ทั้งความกำหนดอันเกิดแต่จักษุและรูปก็ย่อมมีในกาลนั้น ความ
ปรากฏแห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่จักษุและรูปนั้น ย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้. รูปแห่ง
สภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด รูปนั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์ คือ รูป
เวทนาแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด เวทนานั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ในอุปาทานขันธ์
คือ เวทนา สัญญาแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด สัญญานั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์
ในอุปาทานขันธ์ คือ สัญญา สังขารแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นเหล่าใด สังขารเหล่านั้น ย่อม
ถึงความสงเคราะห์ในอุปาทาน คือ สังขาร วิญญาณแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด วิญญาณนั้น
ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์ คือ วิญญาณ. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ได้ยินว่า
การสงเคราะห์ การประชุมพร้อม หมวดหมู่แห่งอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ ย่อมมีได้ ด้วยประ
การอย่างนี้.
อนึ่ง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ว่า ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้นชื่อ
ว่าเห็นธรรม ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นปฏิจจสมุปบาท ดังนี้. ก็อุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ใด
อุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ชื่อว่า ปฏิจจสมุปปันนธรรมแล. ความพอใจความอาลัย ความยินดี ความ
ชื่นชอบ ในอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้อันใด อันนั้นชื่อว่าทุกขสมุทัย การกำจัดความกำหนัดด้วย
สามารถความพอใจ การละความกำหนัดด้วยสามารถความพอใจในอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้อันใด
อันนั้นชื่อว่าทุกขนิโรธแล. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ด้วยเหตุแม้มีประมาณเท่านี้แล. คำสอนของ
พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นอันภิกษุทำให้มากแล้ว.

ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า โสตะอันเป็นไปในภายในเป็นของไม่แตกทำลาย
แล้ว ฯลฯ
ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า ฆานะอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลาย
แล้ว ฯลฯ
ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า ชิวหา อันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลาย
แล้ว ฯลฯ
ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า กายอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลาย
แล้ว ฯลฯ
ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า มนะอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลาย
แล้ว และธรรมารมณ์ทั้งหลายอันเป็นภายนอก ย่อมไม่มาสู่คลอง ทั้งความกำหนดอันเกิด
แต่มนะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มี ความปรากฏแห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่มนะและ
ธรรมารมณ์นั้น ก็ยังมีไม่ได้ก่อน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า มนะอันเป็นไปในภาย
ใน เป็นของไม่แตกทำลายแล้ว และธรรมารมณ์ทั้งหลายอันเป็นภายนอก ย่อมมาสู่คลอง
แต่ความกำหนดอันเกิดแต่มนะและธรรมารมณ์นั้นไม่มี ความปรากฏแห่งส่วนแห่งวิญญาณอัน
เกิดแต่มนะและธรรมารมณ์นั้น ก็ยังมีไม่ได้ก่อน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย แต่ว่าในกาลใด
แล มนะอันเป็นไปในภายในเป็นของไม่แตกทำลายแล้ว และธรรมารมณ์ทั้งหลายอันเป็นภาย
นอก ย่อมมาสู่คลอง ทั้งความกำหนดอันเกิดแต่มนะและธรรมารมณ์นั้น ก็ย่อมมี ในกาล
นั้น ความปรากฏแห่งส่วนแห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่มนะและธรรมารมณ์นั้น ย่อมมีได้
ด้วยอาการอย่างนี้. รูปแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด รูปนั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ใน
อุปาทานขันธ์คือรูป เวทนาแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด เวทนานั้น ย่อมถึงความ
สงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์คือเวทนา สัญญาแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด สัญญานั้น
ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์คือสัญญา สังขารทั้งหลายแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้น
เหล่าใด สังขารเหล่านั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์คือสังขาร วิญญาณ
แห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด วิญญาณนั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์
คือวิญญาณ. ภิกษุนั้นย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ได้ยินว่า การสงเคราะห์ การประชุมพร้อม
หมวดหมู่แห่งอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ ย่อมมีได้ ด้วยประการอย่างนี้. อนึ่ง พระผู้มีพระภาค
ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ว่า ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้น
ชื่อว่าเห็นปฏิจจสมุปบาท ดังนี้. ก็อุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ใด อุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ ชื่อว่า
ปฏิจจสมุปปันนธรรมแล. ความพอใจ ความอาลัย ความยินดี ความชื่นชอบ ในอุปาทาน-
*ขันธ์ ๕ เหล่านี้อันใด อันนี้ชื่อว่าทุกขสมุทัย การกำจัดความกำหนัดด้วยสามารถความพอใจ
การละความกำหนัดด้วยสามารถความพอใจ ในอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ อันใด อันนั้นชื่อว่า
ทุกขนิโรธแล. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ด้วยเหตุแม้มีประมาณเท่านี้แล คำสอนของพระผู้มี
พระภาค เป็นอันภิกษุทำให้มากแล้ว.

http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=12&A=6042&Z=6308

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ส.ค. 2013, 15:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
อุปาทานขันธ์ ที่เป็นเหตุก็มี
อุปาทานขันธ์ ที่เป็นปัจจยุบันธรรม (หรือเข้าใจง่ายๆ ว่าผลอันเกิดแต่เหตุ) ก็มี

ปัญจุปาทานขันธ์ คือทุกข์ เป็นผล
และปัญญจุปาทานขันธ์ เป็นเหตุแห่ง อุปาทาน เช่นกัน

เวทนา คือเวทนาขันธ์
อุปาทาน คือปัจจยุบันธรรมของตัณหา; และเป็นปัจจัยของภพ
ขันธ์ ไม่ใช่กองทุกข์
แต่ปัญจุปาทานขันธ์ หรืออุปาทานขันธ์๕ คือกองทุกข์

โฮฮับ คงต้องไปเรียนรู้จัก ขันธ์ 5 และอุปาทานขันธ์ ๕ เสียใหม่หมด

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ส.ค. 2013, 17:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
อ้างคำพูด:
"สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา
สิ่งนั้นมีความดับไปเป็นธรรมดา"


วลีสองวลีนี้ เกิดขึ้นขณะที่ นักบวชโกณฑัญญะ มีดวงตาเห็นธรรม ต่อปฐมเทศนาของพระพุทธองค์ที่ทรงแสดง อริยะสัจจ์ 4 ....โดยปริวัฏฏ์ 3 อาการ 12....
สิ่งที่ นักบวชโกณฑัญญะ เห็นคือ ความเกิด ความดับ อันเป็นธรรมดา ที่เนื่องด้วย สมุทัย กับ นิโรธ ว่าเป็นธรรมดาของสิ่งทั้งหลาย คือธัมม์ใดเกิดแต่เหตุอันธรรมดา ธัมม์นั้นก็มีความดับเป็นธรรมดาเพราะความดับแห่งเหตุนั้น ....ซึ่งยังไม่เกี่ยวข้องกับ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา.....



โฮฮับ คงต้องไปถามพระพุทธองค์ เอง ตอนแสดง ปฐมธรรมเทศนา ว่าพระพุทธองค์แสดงอะไร.
แล้ว ก็ไปถามพระพุทธองค์ ว่า ทำไมไม่แสดง อนัตตลักขณะสูตร ก่อน แสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตร.

จะมั่ว ก็มั่วให้อยู่กะร่องกะรอย อย่าสู่รู้เกินพระพุทธองค์ นะโฮฮับ
http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=04&A=355&Z=445

เมื่อก่อนแค่โหนพุทธวจนมาข่มชาวบ้าน เดี๋ยวนี้กำเริบหนัก ถึงกับดึงพระพุทธองค์ลงมา
พูดด้วยอาการคนองปาก เช่นนั้นนับวันยิ่งอหังการมากขึ้น

เท่าที่ดูมาเช่นนั้นไม่ได้รู้จัก ปริวัฏฏ์๓ ที่ตนเอามาอ้างเลย
ไม่รู้จัก สัจจะญานเป็นอย่างไร ไม่รู้กิจญานและกตญาน
ไม่รู้ดันเอามาอ้าง เช่นนั้นไม่รู้หรือว่า ที่อธิบายให้ฟังมันเป็นเรื่องของปริวัฏฏ์๓


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ส.ค. 2013, 18:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
ในอนัตตลักขณสูตร พระพุทธองค์ทรงสอนปัญจวัคคีย์ เพื่อให้รู้ว่า.....

สรรพสิ่งทั้งมวลล้วนเป็นอนัตตา อนัตตาที่เป็นพุทธพจน์นี่ไม่ใช่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน
แต่เป็น......รูปนาม

ที่เป็นอย่างนี้ เพราะปัญจวัคคีย์ยังหลงยึดติดอัตตาแห่งรูปนาม
พระพุทธองค์ทรงชี้ให้เห็นว่า แม้จะรู้ว่า สังขารเป็นอนัตตา แต่นั้นเป็นเพียงการรู้ สังขารไม่ได้ดับ
เป็นเพราะ....เหตุแห่งสังขารยังไม่ได้ดับ เหตุแห่งสังขารก็คือ..รูปนาม

รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน ล้วนมีเหตุมาจาก...รูปนาม
ดังนั้นการจะดับสังขาร ต้องดับที่ รูปนาม

การดับรูปนามหมายความว่า การปล่อยวางรูปนามนั้น ไม่ยึดติด
ธรรมที่พุทธองค์ทรงสอน เพื่อไม่ยึดติดในรูปนามก็คือ....รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน
ล้วนเป็นไปเพื่อ...อาพาท เพราะเหตุแห่งสังขารนั้นก็คือรูปนาม เป็นไปเพื่ออาพาท


เราไม่สามารถบังคับบัญชารูปนามได้นั้นเอง

Quote Tipitaka:
[๒๐] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งกะพระปัญจวัคคีย์ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปเป็น
อนัตตา
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้ารูปนี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว รูปนี้ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ และบุคคล
พึงได้ในรูปว่า รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด รูปของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย ก็เพราะรูปเป็นอนัตตา ฉะนั้นรูปจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในรูปว่า
รูปของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด รูปของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย.
เวทนาเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเวทนานี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว เวทนานี้ไม่พึง
เป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในเวทนาว่า เวทนาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด เวทนาของ
เราจงอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะเวทนาเป็นอนัตตา ฉะนั้น เวทนาจึง
เป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในเวทนาว่า เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนั้นเถิด เวทนา
ของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย.
สัญญาเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าสัญญานี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว สัญญานี้ไม่พึง
เป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในสัญญาว่า สัญญาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด สัญญาของเรา
อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะสัญญาเป็นอนัตตา ฉะนั้น สัญญาจึงเป็นไป
เพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในสัญญาว่า สัญญาของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด สัญญาของเรา
อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย.
สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าสังขารเหล่านี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว
สังขารเหล่านี้ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในสังขารทั้งหลายว่า สังขารทั้งหลายของ
เราจงเป็นอย่างนี้เถิด สังขารทั้งหลายของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะ
สังขารทั้งหลายเป็นอนัตตา ฉะนั้น สังขารทั้งหลายจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้
ในสังขารทั้งหลายว่า สังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด สังขารทั้งหลายของเราอย่าได้
เป็นอย่างนั้นเลย.
วิญญาณเป็นอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าวิญญาณนี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว วิญญาณนี้
ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในวิญญาณว่า วิญญาณของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด
วิญญาณของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะวิญญาณเป็นอนัตตา ฉะนั้น
วิญญาณจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลย่อมไม่ได้ในวิญญาณว่า วิญญาณของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด
วิญญาณของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย.

http://84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=04&A=479&Z=575


เช่นนั้นหยิบธรรมมั่ว พระพุทธองค์ทรงสอนให้ปัญจวัคคีย์ด้วยธัมจักรกัปฯนั้นคือ...
ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี
ปราศจากมลทิน ได้เกิดขึ้นแก่ท่านพระโกณฑัญญะว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา
สิ่งนั้นทั้งมวล มีความดับเป็นธรรมดา.


พุทธนี้ว่าด้วยการเกิดปัญญามองเห็นการเกิดดับของสังขาร
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน เป็นสังขาร
นั้นหมายความว่า.......สังขารคือการเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปของธรรม
การเกิดดับเกิดในทันทีทันใด ส่วนอาการอาพาท เป็นความเสื่อมแบบค่อยเป็นค่อยไป


ดังนั้น การเกิดขึ้น ตั้งอยู่และดับไป จึงแตกต่างจาก อาการอาพาท
พระพุทธองค์ทรงเอาอนัตตลักขณสูตรมาสอนหลังจากสอน ธัมจักรกัปปวัตนสูตร ก็เพื่อให้รู้ว่า
รูปเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน มีเหตุปัจจัยมาจาก รูปนาม
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน เป็นอาการของสังขาร เกิดแล้วก็ดับ
มันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ความเป็นอนัตตาของธรรมนี้หมายถึง การแปรปวนเปลี่ยนแปลงของรูป เวทนา สัญญา
สังขาร วิญญาน นี้เป็นลักษณะอาการเกิดดับของธรรมแต่ละธรรม เราไปบังคับมันไม่ได้


สรุปก็คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญานย่อมคงอยู่ไม่ได้ ย่อมต้องเสื่อมตามรูปนามนั้นๆ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ส.ค. 2013, 19:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
ทุกขอริยสัจจ์ ที่พระพุทธองค์ทรงบอกก็คือ วัฏฏะแห่งการเวียนว่ายตายเกิด
นั้นก็คือการหมุนไปแห่งวงปฏิจจสมุบาท
ถ้าเช่นนั้นสังเกตุให้ดี จะเห็นว่า ในวงปฏิจจ์สมุบาท จะมีเหตุปัจจัยเพียงแค่๑๒เหตุ
เหตุเหล่านี้อาศัยซึ่งกันและกัน
ถ้าเรามรณะรูปและนามก็จะแตกดับออกจากกัน นั้นคือสายปฏิจจสมุบาทนั้นก็จะดับไปทั้งสาย

แต่เพราะเรามีผัสสะ จึงทำให้เกิด รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน
เมื่อเกิดผัสสะขึ้นเราไม่มีปัญญาแยกแยะสังขารอันเป็นธรรมนิยาม ปล่อยให้สังขารไปยึดโยง
กับธรรมฐิติ จึงทำให้สังขารเกิดเป็นขันธ์ห้าขึ้น
ดังนั้นการดับทุกข์จึงจะต้องดับเหตุที่ทำให้เกิดสังขาร นั้นก็คือผัสสะ
[/color]

ขันธ์ห้าหรือกองทุกข์นี่แหล่ะเป็นเป็นเหตุให้เกิด ปฏิจจสมุบาทวงใหม่หรือเรียกว่าจะเกิด
ปฏิจจสมุบาทในอนาคต

Quote Tipitaka:
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขอริยสัจ คือ ความเกิดก็เป็นทุกข์ ความแก่
ก็เป็นทุกข์ ความเจ็บไข้ก็เป็นทุกข์ ความตายก็เป็นทุกข์ ความประจวบด้วยสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก
ก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้นก็เป็นทุกข์
โดยย่นย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์


อุปาทานขันธ์เป็นทุกข์ ทุกข์ที่ว่าคือ ทุกข์ในไตรลักษณ์ มันเป็นสังขารเป็นทุกข์ทางใจ

พุทธพจน์ที่กล่าวไว้ว่า การเกิดเป็นทุกข์หรือการเวียนว่ายตายเกิดเป็นทุกข์
อุปาทานขันธ์จึงเป็นเหตุแห่งทุกข์เป็นกองทุกข์ในปฏิจจ์ฯ ซึ่งมันเป็นเหตุให้เกิดในภพชาติใหม่
การต้องเกิดอีกจึงเป็นทุกข์อริยสัจจ์ในความหมายของพระพุทธเจ้า


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ส.ค. 2013, 19:24 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
โฮฮับ เขียน:
เช่นนั้นตั้งสติฟังให้ดีน่ะ......พระพุทธองค์ทรงกล่าวถึงขันธ์ห้า นั้นก็คือ
ปุถุชนล้วนเกิดมาพร้อมกับขันธ์ห้า ขันธ์ห้าคือสิ่งที่ตามติดมาจาก ปฏิจจ์ในอดีต
และเหตุที่ทำให้เกิดขันธ์ห้าในชาติปัจจุบัน ก็คือ อุปาทานขันธ์ในอดีต
ซึ่งอุปาทานขันธ์ในอดีตเกิดจาก สังขารไปยึดปฏิจจฯของชาตินั้นๆ

และสังขารเป็นอุปาทานขันธ์ได้อย่างไร เช่นนั้นก็ดูซิว่า ในปฏิจจ์ฯมีอะไรที่เป็นเหตุให้เกิด
อุปาทานขันธ์ ตัณหาใช่หรือไม่

ถ้าเราปล่อยให้สังขารเป็นไปตามธรรมชาติของมัน นั้นคือ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
ไม่เอาสังขารไปเกาะเกี่ยวกับตัณหาในวงปฏิจจ์ฯ ถามหน่อย อุปาทานขันธ์มันจะเกิดได้มั้ย


Quote Tipitaka:
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้แลเป็นทุกขอริยสัจ คือ ความเกิดก็เป็นทุกข์ ความแก่
ก็เป็นทุกข์ ความเจ็บไข้ก็เป็นทุกข์ ความตายก็เป็นทุกข์ ความประจวบด้วยสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก
ก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้นก็เป็นทุกข์
โดยย่นย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์

[๙๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นไฉน?

ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูป อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็นภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียดเลวหรือประณีต อยู่ในที่ไกลหรือใกล้ เป็นไปกับด้วยอาสวะ เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน.นี้เรียกว่า อุปาทานขันธ์คือรูป.
เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง ฯลฯ
สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง ฯลฯ
สังขารเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ฯลฯ
วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็น
ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต อยู่ในที่ไกลหรือใกล้ เป็นไปกับด้วย
อาสวะ เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน. นี้เรียกว่า. อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหล่านี้ เรียกว่า อุปาทานขันธ์ ๕.

ไม่ได้เรื่อง ไม่รู้เลยว่า ปริวัฎฎ์๓เป็นอย่างไร ไม่รู้ว่า ปริยัติ ปฏิบัติและปฏิเวธเป็นอย่างไร
ที่สำคัญไม่เข้าใจว่า ธรรมที่พระพุทธองค์ทรงสอนเป็นลักษณะของไตรสิกขา
ไม่รู้จักการปฏิบัติให้เกิดปัญญาแล้วก็วนมาปฏิบัติให้เกิดปัญญายิ่งขึ้นไปอีก

เพราะเป็นอย่างนี้ จึงได้แต่มองหาบัญญัติที่มีลักษณะคล้ายกันมาอ้าง
โดยที่ไม่รู้ตัวเลยว่า.....มันไม่เหมือนกันด้วยสภาวะธรรม

ไม่รู้เลยสักนิดว่า บัญญัติทุกคำแม้แต่ปรมัตถ์บัญญัติ
ไม่ใช่สักแต่จะเอามาอ้าง การจะเอามาอ้างได้บัญญัตินั้นที่เป็นปรมัตถ์นั้น
จะต้องทำให้แจ้งด้วยปัญญาตนเองเสียก่อน ดังพุทธพจน์ที่ว่า....สัจฉิกัตถปรมัตถ์


สรุปก็คือเอาพระไตรปิฏกมาอ้างผิดกาละเทศะหรืออีกนัยหนึ่งก็คือมันเป็นคนล่ะเรื่อง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ส.ค. 2013, 19:31 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
Quote Tipitaka:
[๓๔๖] ดูกรท่านมีอายุทั้งหลาย อากาศอาศัยไม้และอาศัยเถาวัลย์ ดินเหนียวและหญ้า
แวดล้อมแล้ว ย่อมถึงความนับว่า เป็นเรือนฉันใด ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย อากาศอาศัยกระดูก
และอาศัยเอ็นเนื้อและหนังแวดล้อมแล้ว ย่อมถึงความนับว่า รูป ฉันนั้นเหมือนกันแล. ดูกรท่าน
ผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า จักษุอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลายแล้ว และรูปทั้งหลาย
อันเป็นภายนอกย่อมไม่มาสู่คลองจักษุ ทั้งความกำหนดอันเกิดแต่จักษุและรูปนั้นก็ไม่มี ความ
ปรากฏแห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่จักษุ และรูปนั้น ก็ยังมีไม่ได้ก่อน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้ง
หลาย หากว่า จักษุอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลายแล้ว และรูปทั้งหลายอันเป็น
ภายนอก ย่อมมาสู่คลองจักษุ แต่ความกำหนดอันเกิดแต่จักษุ และรูปนั้นไม่มี ความปรากฏ
แห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่จักษุ และรูปนั้นก็ยังมีไม่ได้ก่อน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย
แต่ว่าในกาลใดแลจักษุอันเป็นไปในภายในเป็นของไม่แตกไม่ทำลายแล้ว และรูปทั้งหลายอันเป็น
ภายนอก ย่อมมาสู่คลองจักษุ ทั้งความกำหนดอันเกิดแต่จักษุและรูปก็ย่อมมีในกาลนั้น ความ
ปรากฏแห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่จักษุและรูปนั้น ย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้. รูปแห่ง
สภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด รูปนั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์ คือ รูป
เวทนาแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด เวทนานั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ในอุปาทานขันธ์
คือ เวทนา สัญญาแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด สัญญานั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์
ในอุปาทานขันธ์ คือ สัญญา สังขารแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นเหล่าใด สังขารเหล่านั้น ย่อม
ถึงความสงเคราะห์ในอุปาทาน คือ สังขาร วิญญาณแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด วิญญาณนั้น
ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์ คือ วิญญาณ. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ได้ยินว่า
การสงเคราะห์ การประชุมพร้อม หมวดหมู่แห่งอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ ย่อมมีได้ ด้วยประ
การอย่างนี้.
อนึ่ง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ว่า ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้นชื่อ
ว่าเห็นธรรม ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นปฏิจจสมุปบาท ดังนี้. ก็อุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ใด
อุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ชื่อว่า ปฏิจจสมุปปันนธรรมแล. ความพอใจความอาลัย ความยินดี ความ
ชื่นชอบ ในอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้อันใด อันนั้นชื่อว่าทุกขสมุทัย การกำจัดความกำหนัดด้วย
สามารถความพอใจ การละความกำหนัดด้วยสามารถความพอใจในอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้อันใด
อันนั้นชื่อว่าทุกขนิโรธแล. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ด้วยเหตุแม้มีประมาณเท่านี้แล. คำสอนของ
พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นอันภิกษุทำให้มากแล้ว.

ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า โสตะอันเป็นไปในภายในเป็นของไม่แตกทำลาย
แล้ว ฯลฯ
ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า ฆานะอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลาย
แล้ว ฯลฯ
ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า ชิวหา อันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลาย
แล้ว ฯลฯ
ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า กายอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลาย
แล้ว ฯลฯ
ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า มนะอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลาย
แล้ว และธรรมารมณ์ทั้งหลายอันเป็นภายนอก ย่อมไม่มาสู่คลอง ทั้งความกำหนดอันเกิด
แต่มนะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มี ความปรากฏแห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่มนะและ
ธรรมารมณ์นั้น ก็ยังมีไม่ได้ก่อน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า มนะอันเป็นไปในภาย
ใน เป็นของไม่แตกทำลายแล้ว และธรรมารมณ์ทั้งหลายอันเป็นภายนอก ย่อมมาสู่คลอง
แต่ความกำหนดอันเกิดแต่มนะและธรรมารมณ์นั้นไม่มี ความปรากฏแห่งส่วนแห่งวิญญาณอัน
เกิดแต่มนะและธรรมารมณ์นั้น ก็ยังมีไม่ได้ก่อน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย แต่ว่าในกาลใด
แล มนะอันเป็นไปในภายในเป็นของไม่แตกทำลายแล้ว และธรรมารมณ์ทั้งหลายอันเป็นภาย
นอก ย่อมมาสู่คลอง ทั้งความกำหนดอันเกิดแต่มนะและธรรมารมณ์นั้น ก็ย่อมมี ในกาล
นั้น ความปรากฏแห่งส่วนแห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่มนะและธรรมารมณ์นั้น ย่อมมีได้
ด้วยอาการอย่างนี้. รูปแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด รูปนั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ใน
อุปาทานขันธ์คือรูป เวทนาแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด เวทนานั้น ย่อมถึงความ
สงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์คือเวทนา สัญญาแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด สัญญานั้น
ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์คือสัญญา สังขารทั้งหลายแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้น
เหล่าใด สังขารเหล่านั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์คือสังขาร วิญญาณ
แห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด วิญญาณนั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์
คือวิญญาณ. ภิกษุนั้นย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ได้ยินว่า การสงเคราะห์ การประชุมพร้อม
หมวดหมู่แห่งอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ ย่อมมีได้ ด้วยประการอย่างนี้. อนึ่ง พระผู้มีพระภาค
ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ว่า ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้น
ชื่อว่าเห็นปฏิจจสมุปบาท ดังนี้. ก็อุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ใด อุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ ชื่อว่า
ปฏิจจสมุปปันนธรรมแล. ความพอใจ ความอาลัย ความยินดี ความชื่นชอบ ในอุปาทาน-
*ขันธ์ ๕ เหล่านี้อันใด อันนี้ชื่อว่าทุกขสมุทัย การกำจัดความกำหนัดด้วยสามารถความพอใจ
การละความกำหนัดด้วยสามารถความพอใจ ในอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ อันใด อันนั้นชื่อว่า
ทุกขนิโรธแล. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ด้วยเหตุแม้มีประมาณเท่านี้แล คำสอนของพระผู้มี
พระภาค เป็นอันภิกษุทำให้มากแล้ว.

http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=12&A=6042&Z=6308

อ่านให้ดีอย่างมีสติ ดูซิว่า อะไรเป็นทุกขสมุทัย

ลองไปเขียนแผนผังดูก็ได้ ปฏิจจ์สมุบาทส่วนหนึ่ง
สังขารหรือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญานก็ส่วนหนึ่ง

ลองดูซิว่า อุปาทานขันธ์เกิดที่ไหน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ส.ค. 2013, 19:37 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
เช่นนั้น เขียน:
อุปาทานขันธ์ ที่เป็นเหตุก็มี
อุปาทานขันธ์ ที่เป็นปัจจยุบันธรรม (หรือเข้าใจง่ายๆ ว่าผลอันเกิดแต่เหตุ) ก็มี

ปัญจุปาทานขันธ์ คือทุกข์ เป็นผล
และปัญญจุปาทานขันธ์ เป็นเหตุแห่ง อุปาทาน เช่นกัน

เวทนา คือเวทนาขันธ์
อุปาทาน คือปัจจยุบันธรรมของตัณหา; และเป็นปัจจัยของภพ
ขันธ์ ไม่ใช่กองทุกข์
แต่ปัญจุปาทานขันธ์ หรืออุปาทานขันธ์๕ คือกองทุกข์

โฮฮับ คงต้องไปเรียนรู้จัก ขันธ์ 5 และอุปาทานขันธ์ ๕ เสียใหม่หมด


มั่วอีกแล้วเรื่องนี้ ต้องมีวิชชาในส่วนของ ความรู้ในอดีต ความรู้ในอนาคต
ความรู้ในอดีตและอนาคตและความรู้ในปฏิจจสมุบาท

รู้แบบนี้จึงจะมีสมาธิเข้าใจแยกแยะ รูปนามอันเป็นปัจจุบัน อดีต อนาคตได้

ที่เช่นนั้นพูดมาทั้งหมดมันเป็นคนล่ะเรื่อง อาศัยแค่บัญญัติมที่คล้ายกันมาอ้าง
ซึ่งในความเป็นจริงมันไม่ใช่สภาวะที่เป็นจริง.....มันมั่ว


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ส.ค. 2013, 20:25 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
เมื่อก่อนแค่โหนพุทธวจนมาข่มชาวบ้าน เดี๋ยวนี้กำเริบหนัก ถึงกับดึงพระพุทธองค์ลงมา
พูดด้วยอาการคนองปาก เช่นนั้นนับวันยิ่งอหังการมากขึ้น

เท่าที่ดูมาเช่นนั้นไม่ได้รู้จัก ปริวัฏฏ์๓ ที่ตนเอามาอ้างเลย
ไม่รู้จัก สัจจะญานเป็นอย่างไร ไม่รู้กิจญานและกตญาน
ไม่รู้ดันเอามาอ้าง เช่นนั้นไม่รู้หรือว่า ที่อธิบายให้ฟังมันเป็นเรื่องของปริวัฏฏ์๓

Quote Tipitaka:
[๑๑๒] พระนครสาวัตถี. ฯลฯ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย
อุปาทานขันธ์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน? คือ
อุปาทานขันธ์คือรูป
อุปาทานขันธ์คือเวทนา
อุปาทานขันธ์คือสัญญา
อุปาทานขันธ์คือสังขาร
อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เรายังไม่รู้ยิ่งซึ่งอุปาทานขันธ์ ๕ ประการนี้ โดยเวียนรอบ ๔ ตามความเป็นจริง เพียงใด เราก็ยังไม่ปฏิญาณว่า เป็นผู้ตรัสรู้ชอบยิ่งซึ่งสัมมาสัมโพธิญาณ อย่างยอดเยี่ยม ในโลกพร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาและมนุษย์เพียงนั้น.

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดแล เรารู้ยิ่งซึ่งอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ โดยเวียนรอบ ๔ ตามความเป็น
จริง เมื่อนั้น เราจึงปฏิญาณว่า เป็นผู้ตรัสรู้ชอบยิ่งซึ่งสัมมาสัมโพธิญาณ อย่างยอดเยี่ยม ในโลก
พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาและ
มนุษย์. เวียนรอบ ๔ อย่างไร? คือ เรารู้ยิ่งซึ่งรูป ความเกิดแห่งรูป ความดับแห่งรูป ปฏิปทา
อันให้ถึงความดับแห่งรูป รู้ยิ่งซึ่งเวทนา ฯลฯ รู้ยิ่งซึ่งสัญญา ฯลฯ รู้ยิ่งซึ่งสังขาร ฯลฯ รู้ยิ่งซึ่ง
วิญญาณ ความเกิดแห่งวิญญาณ ความดับแห่งวิญญาณ ปฏิปทาอันให้ถึงความดับแห่งวิญญาณ.

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ส.ค. 2013, 20:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
ในอนัตตลักขณสูตร พระพุทธองค์ทรงสอนปัญจวัคคีย์ เพื่อให้รู้ว่า.....

สรรพสิ่งทั้งมวลล้วนเป็นอนัตตา อนัตตาที่เป็นพุทธพจน์นี่ไม่ใช่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน
แต่เป็น......รูปนาม

ที่เป็นอย่างนี้ เพราะปัญจวัคคีย์ยังหลงยึดติดอัตตาแห่งรูปนาม
พระพุทธองค์ทรงชี้ให้เห็นว่า แม้จะรู้ว่า สังขารเป็นอนัตตา แต่นั้นเป็นเพียงการรู้ สังขารไม่ได้ดับ
เป็นเพราะ....เหตุแห่งสังขารยังไม่ได้ดับ เหตุแห่งสังขารก็คือ..รูปนาม

รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน ล้วนมีเหตุมาจาก...รูปนาม
ดังนั้นการจะดับสังขาร ต้องดับที่ รูปนาม

การดับรูปนามหมายความว่า การปล่อยวางรูปนามนั้น ไม่ยึดติด
ธรรมที่พุทธองค์ทรงสอน เพื่อไม่ยึดติดในรูปนามก็คือ....รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน
ล้วนเป็นไปเพื่อ...อาพาท เพราะเหตุแห่งสังขารนั้นก็คือรูปนาม เป็นไปเพื่ออาพาท


เราไม่สามารถบังคับบัญชารูปนามได้นั้นเอง


โฮฮับ เขียน:

เช่นนั้นหยิบธรรมมั่ว พระพุทธองค์ทรงสอนให้ปัญจวัคคีย์ด้วยธัมจักรกัปฯนั้นคือ...
ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี
ปราศจากมลทิน ได้เกิดขึ้นแก่ท่านพระโกณฑัญญะว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา
สิ่งนั้นทั้งมวล มีความดับเป็นธรรมดา.
พุทธนี้ว่าด้วยการเกิดปัญญามองเห็นการเกิดดับของสังขาร
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน เป็นสังขาร
นั้นหมายความว่า.......สังขารคือการเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปของธรรม
การเกิดดับเกิดในทันทีทันใด ส่วนอาการอาพาท เป็นความเสื่อมแบบค่อยเป็นค่อยไป

ดังนั้น การเกิดขึ้น ตั้งอยู่และดับไป จึงแตกต่างจาก อาการอาพาท
พระพุทธองค์ทรงเอาอนัตตลักขณสูตรมาสอนหลังจากสอน ธัมจักรกัปปวัตนสูตร ก็เพื่อให้รู้ว่า
รูปเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน มีเหตุปัจจัยมาจาก รูปนาม
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน เป็นอาการของสังขาร เกิดแล้วก็ดับ
มันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา



สรุปก็คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญานย่อมคงอยู่ไม่ได้ ย่อมต้องเสื่อมตามรูปนามนั้นๆ


นั่งเทียน มะอยู่กะร่อยกะรอยตามเคย โฮฮับ

โฮฮับ เขียน:
อนัตตาที่เป็นพุทธพจน์นี่ไม่ใช่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน

ความเป็นอนัตตาของธรรมนี้หมายถึง การแปรปวนเปลี่ยนแปลงของรูป เวทนา สัญญา
สังขาร วิญญาน นี้เป็นลักษณะอาการเกิดดับของธรรมแต่ละธรรม เราไปบังคับมันไม่ได้

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ส.ค. 2013, 20:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:

อุปาทานขันธ์เป็นทุกข์ ทุกข์ที่ว่าคือ ทุกข์ในไตรลักษณ์ มันเป็นสังขารเป็นทุกข์ทางใจ

พุทธพจน์ที่กล่าวไว้ว่า การเกิดเป็นทุกข์หรือการเวียนว่ายตายเกิดเป็นทุกข์
อุปาทานขันธ์จึงเป็นเหตุแห่งทุกข์เป็นกองทุกข์ในปฏิจจ์ฯ ซึ่งมันเป็นเหตุให้เกิดในภพชาติใหม่
การต้องเกิดอีกจึงเป็นทุกข์อริยสัจจ์ในความหมายของพระพุทธเจ้า

นี่ก็การนั่งเทียน และไม่อยู่กะร่องกะรอย ของโฮฮับ

1.พระพุทธองค์ ไม่เคยสอน ว่า อุปาทานขันธ์ เป็นทุกข์ ทุกข์ที่ว่า คือทุกข์ในไตรลักษณ์ โฮฮับมั่ว
2. ถ้า อุปาทานขันธ์เป็นทุกข์ ทุกข์ที่ว่าคือไตรลักษณ์
ทุกข์ในไตรลักณ์จะเป็นเหตุแห่งกองทุกข์ในปฏิจจ์ฯ ทันที

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ส.ค. 2013, 20:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เช่นนั้น เขียน:
อุปาทานขันธ์ ที่เป็นเหตุก็มี
อุปาทานขันธ์ ที่เป็นปัจจยุบันธรรม (หรือเข้าใจง่ายๆ ว่าผลอันเกิดแต่เหตุ) ก็มี

ปัญจุปาทานขันธ์ คือทุกข์ เป็นผล
และปัญญจุปาทานขันธ์ เป็นเหตุแห่ง อุปาทาน เช่นกัน

เวทนา คือเวทนาขันธ์
อุปาทาน คือปัจจยุบันธรรมของตัณหา; และเป็นปัจจัยของภพ
ขันธ์ ไม่ใช่กองทุกข์
แต่ปัญจุปาทานขันธ์ หรืออุปาทานขันธ์๕ คือกองทุกข์

โฮฮับ คงต้องไปเรียนรู้จัก ขันธ์ 5 และอุปาทานขันธ์ ๕ เสียใหม่หมด

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ส.ค. 2013, 04:21 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


มาทำความเข้าใจกับปัญจวัคคีย์เสียใหม่ เพราะเท่าที่ดูมาเช่นนั้นยังขาดปัญญาในการพิจารณาธรรม
จึงทำให้ พระสัทธรรมของพระพุทธองค์คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง

ก่อนอื่นต้องรู้ว่าทำไม พระพุทธองค์จึงสอน..ธัมจักรกัปปวัตนสูตรแก่ปัญจวัคคีย์
ก็เป็นเพราะว่า เหล่าปัญจวัคคีย์ ยังเป็นพราหมณ์ เป็นผู้ปฏิบัติที่ผิดจากแนวทางที่พระพุทธเจ้าค้นพบ
นั้นก็คือสัมมาปฏิปทา

ในพระธรรมต้อนต้นๆของธัมจักรกัปปวัตนสูตร เป็นการสอนให้ปัญจวัคคีย์....ละมิจฉาทฐิ
นั้นก็คือพระธรรมของธัมจักรกัปปฯในส่วนนี้..................

พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุปัญจวัคคีย์มาแล้วตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนสุด
๒ อย่างนี้ อันบรรพชิตไม่ควรเสพ ส่วนสุด ๒ อย่างนั้นเป็นไฉน? คือ การประกอบตนให้
พัวพันด้วยกามสุขในกามทั้งหลาย เป็นของเลว เป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ประเสริฐ
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑ การประกอบความลำบากแก่ตน เป็นทุกข์ ไม่ประเสริฐ ไม่ประกอบ
ด้วยประโยชน์ ๑ ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ส่วนสุด ๒ อย่างเหล่านี้ อันตถาคต
ได้ตรัสรู้แล้ว กระทำจักษุ กระทำญาณ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความ
ตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ก็ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลางนั้น ... เป็นไฉน? คือ อริยมรรคอันประกอบ
ด้วยองค์ ๘ นี้แหละ ซึ่งได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพ
ชอบ เพียรชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจชอบ ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลางนี้แล อันตถาคตได้ตรัสรู้
แล้ว กระทำจักษุ กระทำญาณ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อ
นิพพาน.


พระธรรมส่วนนี้เป็นการบอกให้รู้ว่า การกระทำแบบไหนเป็นมิจฉาและการกระทำแบบไหน
เป็นสัมมาปฏิปทา
......นี้แค่เป็นการบอก
แต่ยังไม่ใช่ปัญญาที่เรียกว่าญาน(เห็นธรรมตามความเป็นจริง)

พระพุทธองค์จึงได้บอกธรรมที่ยังเป็นปริยัติให้ฟัง......
[๑๖๖๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขอริยสัจนี้แล คือ ความเกิดก็เป็นทุกข์ ความแก่
ก็เป็นทุกข์ ความเจ็บก็เป็นทุกข์ ความตายก็เป็นทุกข์ ความประจวบด้วยสิ่งอันไม่เป็นที่รักก็เป็น
ทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้ แม้ข้อนั้นก็เป็นทุกข์
โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ ก็ทุกขสมุทยอริยสัจนี้แล คือ ตัณหาอันทำให้มีภพใหม่
ประกอบด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ความเพลิดเพลินยิ่งนักในอารมณ์นั้นๆ ได้แก่
กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา ก็ทุกขนิโรธอริยสัจนี้แล คือ ความดับด้วยการสำรอกโดยไม่
เหลือแห่งตัณหานั้นแหละ ความสละ ความวาง ความปล่อย ความไม่อาลัย ก็ทุกขนิโรธคามินี-
*ปฏิปทาอริยสัจนี้แล คือ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ ซึ่งได้แก่สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ สัมมา
สมาธิ.
[๑๖๖๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแก่
เรา ในธรรมที่เราไม่เคยได้ฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขอริยสัจ ฯลฯ ทุกขอริยสัจนั้นควรกำหนดรู้ ฯลฯ
ทุกขอริยสัจนั้นเรากำหนดรู้แล้ว.
[๑๖๖๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแก่เรา
ในธรรมที่เราไม่เคยได้ฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขสมุทยอริยสัจ ฯลฯ ทุกขสมุทยอริยสัจนั้นควรละ ฯลฯ
ทุกขสมุทัยอริยสัจนั้นเราละแล้ว.
[๑๖๖๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแก่เรา
ในธรรมที่เราไม่เคยได้ฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขนิโรธอริยสัจ ฯลฯ ทุกขนิโรธอริยสัจนั้นควรกระทำให้
แจ้ง. ฯลฯ ทุกขนิโรธอริยสัจนั้นเรากระทำให้แจ้งแล้ว
[๑๖๖๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแก่
เรา ในธรรมที่เราไม่เคยได้ฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ฯลฯ ทุกขนิโรธคามินี
ปฏิปทาอริยสัจนั้นควรเจริญ จักษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา
ในธรรมที่เราไม่เคยได้ฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนั้นเราเจริญแล้ว.


นี่เป็นส่วนของธรรมที่ยังเป็นปริยัติ เป็นธรรมที่ยังต้องอาศัยการปฏิบัติ เพื่อให้เห็นธรรมนี่
ไปตามความเป็นจริง

ธรรมที่กล่าวถึงปฏิเวธ เป็นปัญญาโดยแท้ก็คือ........ธรรมที่เกิดจากญานทัสสนะ
พระพุทธองค์ให้ปัญจวัคคีย์ใช้ญานทัสสนะพิจารณาธรรมในส่วนนี้

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ญาณทัสสนะ (ความรู้ความเห็น) ตามความเป็นจริง
มีวนรอบ ๓ อย่างนี้ มีอาการ ๑๒ ในอริยสัจ ๔ เหล่านี้ของเรา ยังไม่บริสุทธิ์เพียงใด เราก็ยัง
ไม่ปฏิญาณตนว่า เป็นผู้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหม-
*โลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ เพียงนั้น ก็เมื่อใด ญาณทัสสนะ
(ความรู้ความเห็น) ตามความเป็นจริง มีวนรอบ ๓ อย่างนี้ มีอาการ ๑๒ ในอริยสัจ ๔ เหล่านี้
ของเรา บริสุทธิ์ดีแล้ว เมื่อนั้น เราจึงปฏิญาณตนว่า เป็นผู้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณใน
โลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทวดา
และมนุษย์ ก็ญาณทัสสนะได้บังเกิดขึ้นแก่เราว่า วิมุติของเราไม่กำเริบ ชาตินี้เป็นชาติที่สุด
บัดนี้ ภพใหม่ไม่มี พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว ภิกษุปัญจวัคคีย์ปลื้มใจ ชื่นชม
ภาษิตของพระผู้มีพระภาค.


เมื่อปัญจวัคคีย์ได้ใช้ญานทัสสนะพิจารณาธรรมที่พระพุทธองค์ทรงชี้แนะ
ทำให้ท่านโกณทัญญะเกิดปัญญาดวงตาเห็นธรรม....ตามพระธรรมบทนี้


ก็เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ ดวงตาเห็นธรรมอันปราศจาก
ธุลี ปราศจากมลทิน ได้เกิดขึ้นแก่ท่านโกณฑัญญะว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา
สิ่งนั้นทั้งมวลล้วนมีความดับเป็นธรรมดา

พระธรรมส่วนนี้คือผลหรือปฏิเวธ ผลหรือปฏิเวธคืออะไร นั้นก็คือ...การเห็นธรรมตามความเป็นจริง ธรรมตามความเป็นจริง เกิดจากการการปฏิบัติเรียกว่า ญานทัสสนะ

และธรรมตามความเป็นจริงที่ท่านโกณทัญญะเห็นก็คือ.........
"สิ่งใดมีความเกิด ย่อมมีความดับไปเป็นธรรมดา" ซึ่งธรรมตามความเป็นจริงนี่ก็คือ
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

ความเกิดดับของธรรม เพราะความไม่เที่ยง(อนิจจัง)
ความเกิดดับของธรรม เพราะทนอยู่ไม่ได้เป็นทุกข์(ทุกขัง)
ความเกิดดับของธรรม ไม่ใช่ตัวตนบังคับไม่ได้(อนัตตา)

สรุปในประเด็นแรก ที่เช่นนั้นบอกว่า ธัมจักรกัปปวัตนสูตร
ไม่เกี่ยวข้องกับ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เป็นการเข้าใจผิด
สาเหตุก็เพราะเช่นนั้นยังขาดปัญญาในการพิจารณาธรรม
เช่นนั้นใช้ตัวอักษรเป็นหลักในการพิจารณา มันผิดหลักของการปฏิบัติ

การจะเข้าใจธรรมที่เป็นบัญญัติ เราต้องทำบัญญัติให้แจ้งเสียก่อนด้วย ญานทัสสนะ
ที่เช่นนั้นบอกไม่เกี่ยวข้องกับ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็เพราะบัญญัติสามคำนี้
เป็นปัญญาอันเกิดจากการใช้ญานทัสสนะเห็นการเกิดดับของธรรมจนเป็นผลหรือปฏิเวธ
เป็น..ไตรลักษณ์


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ส.ค. 2013, 12:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
มาทำความเข้าใจกับปัญจวัคคีย์เสียใหม่ เพราะเท่าที่ดูมาเช่นนั้นยังขาดปัญญาในการพิจารณาธรรม
จึงทำให้ พระสัทธรรมของพระพุทธองค์คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง

ก่อนอื่นต้องรู้ว่าทำไม พระพุทธองค์จึงสอน..ธัมจักรกัปปวัตนสูตรแก่ปัญจวัคคีย์
ก็เป็นเพราะว่า เหล่าปัญจวัคคีย์ ยังเป็นพราหมณ์ เป็นผู้ปฏิบัติที่ผิดจากแนวทางที่พระพุทธเจ้าค้นพบ
นั้นก็คือสัมมาปฏิปทา

ในพระธรรมต้อนต้นๆของธัมจักรกัปปวัตนสูตร เป็นการสอนให้ปัญจวัคคีย์....ละมิจฉาทฐิ
นั้นก็คือพระธรรมของธัมจักรกัปปฯในส่วนนี้..................

พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุปัญจวัคคีย์มาแล้วตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนสุด
๒ อย่างนี้ อันบรรพชิตไม่ควรเสพ ส่วนสุด ๒ อย่างนั้นเป็นไฉน? คือ การประกอบตนให้
พัวพันด้วยกามสุขในกามทั้งหลาย เป็นของเลว เป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ประเสริฐ
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๑ การประกอบความลำบากแก่ตน เป็นทุกข์ ไม่ประเสริฐ ไม่ประกอบ
ด้วยประโยชน์ ๑ ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ส่วนสุด ๒ อย่างเหล่านี้ อันตถาคต
ได้ตรัสรู้แล้ว กระทำจักษุ กระทำญาณ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความ
ตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ก็ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลางนั้น ... เป็นไฉน? คือ อริยมรรคอันประกอบ
ด้วยองค์ ๘ นี้แหละ ซึ่งได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพ
ชอบ เพียรชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจชอบ ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลางนี้แล อันตถาคตได้ตรัสรู้
แล้ว กระทำจักษุ กระทำญาณ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อ
นิพพาน
.


พระธรรมส่วนนี้เป็นการบอกให้รู้ว่า การกระทำแบบไหนเป็นมิจฉาและการกระทำแบบไหน
เป็นสัมมาปฏิปทา
......นี้แค่เป็นการบอก
แต่ยังไม่ใช่ปัญญาที่เรียกว่าญาน(เห็นธรรมตามความเป็นจริง)


พระพุทธองค์จึงได้บอกธรรมที่ยังเป็นปริยัติให้ฟัง......
[๑๖๖๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขอริยสัจนี้แล คือ ความเกิดก็เป็นทุกข์ ความแก่
ก็เป็นทุกข์ ความเจ็บก็เป็นทุกข์ ความตายก็เป็นทุกข์ ความประจวบด้วยสิ่งอันไม่เป็นที่รักก็เป็น
ทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้ แม้ข้อนั้นก็เป็นทุกข์
โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ ก็ทุกขสมุทยอริยสัจนี้แล คือ ตัณหาอันทำให้มีภพใหม่
ประกอบด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ความเพลิดเพลินยิ่งนักในอารมณ์นั้นๆ ได้แก่
กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา ก็ทุกขนิโรธอริยสัจนี้แล คือ ความดับด้วยการสำรอกโดยไม่
เหลือแห่งตัณหานั้นแหละ ความสละ ความวาง ความปล่อย ความไม่อาลัย ก็ทุกขนิโรธคามินี-
*ปฏิปทาอริยสัจนี้แล คือ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ ซึ่งได้แก่สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ สัมมา
สมาธิ.
[๑๖๖๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแก่
เรา ในธรรมที่เราไม่เคยได้ฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขอริยสัจ ฯลฯ ทุกขอริยสัจนั้นควรกำหนดรู้ ฯลฯ
ทุกขอริยสัจนั้นเรากำหนดรู้แล้ว.
[๑๖๖๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแก่เรา
ในธรรมที่เราไม่เคยได้ฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขสมุทยอริยสัจ ฯลฯ ทุกขสมุทยอริยสัจนั้นควรละ ฯลฯ
ทุกขสมุทัยอริยสัจนั้นเราละแล้ว.
[๑๖๖๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแก่เรา
ในธรรมที่เราไม่เคยได้ฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขนิโรธอริยสัจ ฯลฯ ทุกขนิโรธอริยสัจนั้นควรกระทำให้
แจ้ง. ฯลฯ ทุกขนิโรธอริยสัจนั้นเรากระทำให้แจ้งแล้ว
[๑๖๖๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแก่
เรา ในธรรมที่เราไม่เคยได้ฟังมาก่อนว่า นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ฯลฯ ทุกขนิโรธคามินี
ปฏิปทาอริยสัจนั้นควรเจริญ จักษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง ได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา
ในธรรมที่เราไม่เคยได้ฟังมาก่อนว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนั้นเราเจริญแล้ว.


นี่เป็นส่วนของธรรมที่ยังเป็นปริยัติ เป็นธรรมที่ยังต้องอาศัยการปฏิบัติ เพื่อให้เห็นธรรมนี่
ไปตามความเป็นจริง

ธรรมที่กล่าวถึงปฏิเวธ เป็นปัญญาโดยแท้ก็คือ........ธรรมที่เกิดจากญานทัสสนะ
พระพุทธองค์ให้ปัญจวัคคีย์ใช้ญานทัสสนะพิจารณาธรรมในส่วนนี้

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ญาณทัสสนะ (ความรู้ความเห็น) ตามความเป็นจริง
มีวนรอบ ๓ อย่างนี้ มีอาการ ๑๒ ในอริยสัจ ๔ เหล่านี้ของเรา ยังไม่บริสุทธิ์เพียงใด เราก็ยัง
ไม่ปฏิญาณตนว่า เป็นผู้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหม-
*โลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ เพียงนั้น ก็เมื่อใด ญาณทัสสนะ
(ความรู้ความเห็น) ตามความเป็นจริง มีวนรอบ ๓ อย่างนี้ มีอาการ ๑๒ ในอริยสัจ ๔ เหล่านี้
ของเรา บริสุทธิ์ดีแล้ว เมื่อนั้น เราจึงปฏิญาณตนว่า เป็นผู้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณใน
โลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทวดา
และมนุษย์ ก็ญาณทัสสนะได้บังเกิดขึ้นแก่เราว่า วิมุติของเราไม่กำเริบ ชาตินี้เป็นชาติที่สุด
บัดนี้ ภพใหม่ไม่มี พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว ภิกษุปัญจวัคคีย์ปลื้มใจ ชื่นชม
ภาษิตของพระผู้มีพระภาค.


เมื่อปัญจวัคคีย์ได้ใช้ญานทัสสนะพิจารณาธรรมที่พระพุทธองค์ทรงชี้แนะ
ทำให้ท่านโกณทัญญะเกิดปัญญาดวงตาเห็นธรรม....ตามพระธรรมบทนี้


ก็เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ ดวงตาเห็นธรรมอันปราศจาก
ธุลี ปราศจากมลทิน ได้เกิดขึ้นแก่ท่านโกณฑัญญะว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา
สิ่งนั้นทั้งมวลล้วนมีความดับเป็นธรรมดา

พระธรรมส่วนนี้คือผลหรือปฏิเวธ ผลหรือปฏิเวธคืออะไร นั้นก็คือ...การเห็นธรรมตามความเป็นจริง ธรรมตามความเป็นจริง เกิดจากการการปฏิบัติเรียกว่า ญานทัสสนะ

และธรรมตามความเป็นจริงที่ท่านโกณทัญญะเห็นก็คือ.........
"สิ่งใดมีความเกิด ย่อมมีความดับไปเป็นธรรมดา" ซึ่งธรรมตามความเป็นจริงนี่ก็คือ
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

ความเกิดดับของธรรม เพราะความไม่เที่ยง(อนิจจัง)
ความเกิดดับของธรรม เพราะทนอยู่ไม่ได้เป็นทุกข์(ทุกขัง)
ความเกิดดับของธรรม ไม่ใช่ตัวตนบังคับไม่ได้(อนัตตา)

สรุปในประเด็นแรก ที่เช่นนั้นบอกว่า ธัมจักรกัปปวัตนสูตร
ไม่เกี่ยวข้องกับ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เป็นการเข้าใจผิด
สาเหตุก็เพราะเช่นนั้นยังขาดปัญญาในการพิจารณาธรรม
เช่นนั้นใช้ตัวอักษรเป็นหลักในการพิจารณา มันผิดหลักของการปฏิบัติ

การจะเข้าใจธรรมที่เป็นบัญญัติ เราต้องทำบัญญัติให้แจ้งเสียก่อนด้วย ญานทัสสนะ
ที่เช่นนั้นบอกไม่เกี่ยวข้องกับ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็เพราะบัญญัติสามคำนี้
เป็นปัญญาอันเกิดจากการใช้ญานทัสสนะเห็นการเกิดดับของธรรมจนเป็นผลหรือปฏิเวธ
เป็น..ไตรลักษณ์


จบแล้ว โฮฮับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


แก้ไขล่าสุดโดย เช่นนั้น เมื่อ 12 ส.ค. 2013, 12:56, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ส.ค. 2013, 12:55 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ก.ค. 2008, 21:56
โพสต์: 3925

ชื่อเล่น: เช่นนั้น
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ
กลับไปเรียนรู้ใหม่ว่า
ทุกขอริยสัจจ์ คือ อุปาทานขันธ์ หรือ ขันธ์
ดับทุกข์ ที่ดับชนิดดุจดังตาลยอดด้วน คือดับอุปาทานขันธ์ หรือ ดับขันธ์

อุปาทานขันธ์ มีอะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัย
ขันธ์ มีอะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัย

ที่ยกพระสูตรมาหลายๆ พระสูตร
กลับไปอ่านให้มาก ทำความเข้าใจให้มาก นะโฮฮับ

.....................................................
ธรรมะอันยิ่งใหญ่ ไม่อาจเอื้อนเอ่ย
บัญญัติ เป็นเพียงสิ่งต่ำต้อยแบกรับความยิ่งใหญ่


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 51 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร