วันเวลาปัจจุบัน 19 ก.ค. 2025, 18:44  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 132 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 17 ก.ย. 2013, 07:51 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ถามพี่โฮไว้ที่กระทู้พุทธวจน แต่กระทู้นั้นถูกส่งเข้าห้องดับจิตไปแล้ว จึงขุดมาถามตรงนี้ด้วย


อ้างคำพูด:
สวัสดีคะ ดิฉันสนใจธรรมะ แต่ส่วนมากจะศึกษาเอง อ่านเอง ปฏิบัติเอง ไม่มีอาจารย์สอนเป็นตัวเป็นตน จึงรบกวนผู้รู้และมีประสบการณ์ชี้แนะเพื่อเป็นธรรมทานด้วยคะ

ลำดับการฝึกดิฉันก็คือ พิจารณาร่างกายตลอดเวลา อาบน้ำ กินข้าว ขับถ่าย จนรู้สึกว่าเราแค่มาอาศัย มันไม่ใช่ของเรา ส่วนการนั่งสมาธิก็ใช้คำพุธโธ จนเกิดปีติ อาการปีติก็จะขนลุก ตัวสั่น ตัวโยก (บางครั้ง) หลังจากนั้นลมหายใจก็แผ่วเบา รู้สึกว่าตัวเป็นเป็นเพียงจุดเล็กๆในจักรวาล ไม่มีกาย ไม่มีลมหายใจ เป็นเพียงจุดเท่านั้น อยู่ในที่เวิ้งว้าง ไม่มีขอบเขต ไม่มีอะไรเลย ความรู้สึกคือสุขมากกกกกกกกก



พี่โฮพอเข้าใจไหม ไหนลองวิจารณ์อีกดิ :b1:

ความเห็นนี้ เอาไว้ก่อน พี่โฮไปประประโยชน์อย่างอื่นก่อน
ว่างๆอารมณ์บรรเจิดค่อยมาตอบ :b32:


ติดจนร้องไห้โฮโฮ ตื่นเช้ามาถ่ายออกมาเป็นเลือด คิดจนกระทั่งสมองบวมเลือดออกปากออกจมูก ระดับจินตนาการคิดไม่ถึงคิดไม่ถูกดอกขอรับพี่โฮ :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 18 ก.ย. 2013, 19:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
สวัสดีคะ ดิฉันสนใจธรรมะ แต่ส่วนมากจะศึกษาเอง อ่านเอง ปฏิบัติเอง ไม่มีอาจารย์สอนเป็นตัวเป็นตน จึงรบกวนผู้รู้และมีประสบการณ์ชี้แนะเพื่อเป็นธรรมทานด้วยคะ


ลำดับการฝึกดิฉันก็คือ พิจารณาร่างกายตลอดเวลา อาบน้ำ กินข้าว ขับถ่าย จนรู้สึกว่าเราแค่มาอาศัย มันไม่ใช่ของเรา ส่วนการนั่งสมาธิก็ใช้คำพุธโธ จนเกิดปีติ อาการปีติก็จะขนลุก ตัวสั่น ตัวโยก (บางครั้ง) หลังจากนั้นลมหายใจก็แผ่วเบา รู้สึกว่าตัวเป็นเป็นเพียงจุดเล็กๆในจักรวาล ไม่มีกาย ไม่มีลมหายใจ เป็นเพียงจุดเท่านั้น อยู่ในที่เวิ้งว้าง ไม่มีขอบเขต ไม่มีอะไรเลย ความรู้สึกคือสุขมากกกกกกกกก.



เมื่อสิบปีก่อน ระหว่างที่นั่งสมาธิอยู่
ทุกอย่างรอบตัวหายไป ตัวเราก็หายไป สัมผัสทั้งหมดหายไป
เป็นเวลานานเท่าไหร่ ก็ไม่รู้
แต่จู่ๆก็เกิด อารมณ์พลุ่งพล่าน ทั้ง โกรธ รัก เกลียด แทบทุกอย่าง ขึ้นมาพร้อมๆกัน
ก็เลย ตกใจออกจากสมาธิมา หลังจากนั้น ก็เลยไม่ได้นั่ง สมาธิอีกเลย
เคยมีใครเป็นแบบนี้ไหม.


ขอรบกวนถามท่านผู้รู้ว่าถ้านั่งสมาธิ จนรู้สึกว่าไม่มีร่างกาย อย่างนี้คืออะไรครับ.




เฉลย: ก็สังขาร คือกาย กับ ใจ = ชีวิตนี้ เป็นอย่างนี้ มันก็เป็นอย่างนี้ ตามสภาวะของมัน
คือสังขารปรากฏ “สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา” ตามธรรมดาของมัน แต่เมื่อปรากฏแล้ว ไปขัดกับความรู้สึกความต้องของคน จึงเกิดปัญหาขึ้นแก่บุคคลนั้นเอง


เมื่อสภาวธรรมนี้ปรากฏ วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องสอดคล้องกับธรรมะนี้ ก็คือ กำหนดรู้ตามเป็นจริง หรือตามที่มันเป็นทุกครั้งทุกขณะ หมายความว่า ขณะนั้นรู้สึกยังไง เป็นยังไง ก็กำหนดยังงั้น

โดยมี (ใช้) ลมหายใจเข้า กับ หายใจออก หรืออาการท้องพอง กับ ท้องยุบเป็นหลักหรือเป็นฐานของสติ เป็นต้นไว้ กำหนดทันทุกๆขณะ ....คือ ลมออก (ขณะหนึ่ง) ลมเข้า (ขณะหนึ่ง) ท้องพอง (ขณะหนึ่ง) ท้องยุบ (ขณะหนึ่ง)

เมื่อรู้เท่าทันสังขารแล้วๆเล่าๆ ดังกล่าวแล้ว สภาวะนั้นๆจะระงับไปในที่สุด

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ย. 2013, 04:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
อ้างคำพูด:
สวัสดีคะ ดิฉันสนใจธรรมะ แต่ส่วนมากจะศึกษาเอง อ่านเอง ปฏิบัติเอง ไม่มีอาจารย์สอนเป็นตัวเป็นตน จึงรบกวนผู้รู้และมีประสบการณ์ชี้แนะเพื่อเป็นธรรมทานด้วยคะ


ลำดับการฝึกดิฉันก็คือ พิจารณาร่างกายตลอดเวลา อาบน้ำ กินข้าว ขับถ่าย จนรู้สึกว่าเราแค่มาอาศัย มันไม่ใช่ของเรา ส่วนการนั่งสมาธิก็ใช้คำพุธโธ จนเกิดปีติ อาการปีติก็จะขนลุก ตัวสั่น ตัวโยก (บางครั้ง) หลังจากนั้นลมหายใจก็แผ่วเบา รู้สึกว่าตัวเป็นเป็นเพียงจุดเล็กๆในจักรวาล ไม่มีกาย ไม่มีลมหายใจ เป็นเพียงจุดเท่านั้น อยู่ในที่เวิ้งว้าง ไม่มีขอบเขต ไม่มีอะไรเลย ความรู้สึกคือสุขมากกกกกกกกก.

เมื่อสิบปีก่อน ระหว่างที่นั่งสมาธิอยู่
ทุกอย่างรอบตัวหายไป ตัวเราก็หายไป สัมผัสทั้งหมดหายไป
เป็นเวลานานเท่าไหร่ ก็ไม่รู้
แต่จู่ๆก็เกิด อารมณ์พลุ่งพล่าน ทั้ง โกรธ รัก เกลียด แทบทุกอย่าง ขึ้นมาพร้อมๆกัน
ก็เลย ตกใจออกจากสมาธิมา หลังจากนั้น ก็เลยไม่ได้นั่ง สมาธิอีกเลย
เคยมีใครเป็นแบบนี้ไหม.


เฉลย: ก็สังขาร คือกาย กับ ใจ = ชีวิตนี้ เป็นอย่างนี้ มันก็เป็นอย่างนี้ ตามสภาวะของมัน
คือสังขารปรากฏ “สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา” ตามธรรมดาของมัน แต่เมื่อปรากฏแล้ว ไปขัดกับความรู้สึกความต้องของคน จึงเกิดปัญหาขึ้นแก่บุคคลนั้นเอง

ไปเอาแบบเรียนเร็วใหม่ที่เอาไว้สอนเณรมาโพส แล้วก็โพสทั้งๆที่ไม่รู้ในสิ่งที่โพส
กรัชกายกำลังมั่วอยู่รู้มั้ย.........

ตัวอย่างของผู้ปฏิบัติทั้งสองคน มีสังขารปรากฎใช่ แต่ตัวผู้ปฏิบัติไม่รู้
ว่าเกิดสังขารปรากฎขึ้นแล้ว เป็นเพราะอวิชาบดบังไว้

กรัชกายจะบอกให้น่ะว่า......สังขารกับไตรลักษณ์ มันเป็นคนล่ะส่วนกัน
คนที่ไม่รู้แล้วชอบก็อปปี้แบบเรียนมักจะเป็นแบบกรัชกายนี่แหล่ะ จะบอกให้รู้ว่า.....

สังขาร คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน
ส่วนไตรลักษณ์คือปัญญารู้การ...เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของสังขาร

ความแตกต่างมันอยู่ที่ ความเป็นตัวสังขาร...คือขันธ์ห้า
และความเป็นลักษณะของขันธ์ห้า คือ......การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป


อาการต่างๆที่ผู้ปฏิบัติบอกว่า มันเป็นเกิดจาก การปราฎกของสังขารขึ้น
แต่เป็นเพราะผู้ปฏิบัติยังเห็นสังขารด้วยอวิชา อาการไตรลักษณ์จึงไม่ปรากฎให้เห็น
และผู้ปฏิบัติ เกิดอาการต่างๆหลังจากการปรากฎของสังขาร นั้นเป็นเพราะ...
เกิดวิจิกิจฉาเข้าครอบงำ

กรัชกาย เขียน:
เมื่อสภาวธรรมนี้ปรากฏ วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องสอดคล้องกับธรรมะนี้ ก็คือ กำหนดรู้ตามเป็นจริง หรือตามที่มันเป็นทุกครั้งทุกขณะ หมายความว่า ขณะนั้นรู้สึกยังไง เป็นยังไง ก็กำหนดยังงั้น

โดยมี (ใช้) ลมหายใจเข้า กับ หายใจออก หรืออาการท้องพอง กับ ท้องยุบเป็นหลักหรือเป็นฐานของสติ เป็นต้นไว้ กำหนดทันทุกๆขณะ ....คือ ลมออก (ขณะหนึ่ง) ลมเข้า (ขณะหนึ่ง) ท้องพอง (ขณะหนึ่ง) ท้องยุบ (ขณะหนึ่ง)

เมื่อรู้เท่าทันสังขารแล้วๆเล่าๆ ดังกล่าวแล้ว สภาวะนั้นๆจะระงับไปในที่สุด


ผู้ปฏิบัติที่ยังไม่มีปัญญาไตรลักษณ์ จะต้องหมั่นฝึกการเจริญสติ
เพราะสติเป็นเหตุให้เกิดปัญญา และเหตุที่ทำให้เกิดสติก็คือ......สัญญา

สัญญาที่ว่าต้องเป็นความจำได้หมายรู้สภาพธรรมที่เป็นอารมณ์ อย่างเช่น ราคะ โทสะ โมหะ โลภะ
เราเรียกว่า ความจำที่มั่นคง....สัญญาปทัฏฐานา

แนะนำการปฏิบัติเบื้องต้นให้ ส่วนที่กรัชกายโพสมา มันมั่วจะเป็นการทำฌานก็ไม่ใช่
หรือจะเป็นญานก็ยิ่งไกลห่าง สรุปคือมันมั่วก็แล้วกัน :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ย. 2013, 05:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เมื่อสภาวธรรมนี้ปรากฏ วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องสอดคล้องกับธรรมะนี้ ก็คือ กำหนดรู้ตามเป็นจริง หรือตามที่มันเป็นทุกครั้งทุกขณะ หมายความว่า ขณะนั้นรู้สึกยังไง เป็นยังไง ก็กำหนดยังงั้น

โดยมี (ใช้) ลมหายใจเข้า กับ หายใจออก หรืออาการท้องพอง กับ ท้องยุบเป็นหลักหรือเป็นฐานของสติ เป็นต้นไว้ กำหนดทันทุกๆขณะ ....คือ ลมออก (ขณะหนึ่ง) ลมเข้า (ขณะหนึ่ง) ท้องพอง (ขณะหนึ่ง) ท้องยุบ (ขณะหนึ่ง)

เมื่อรู้เท่าทันสังขารแล้วๆเล่าๆ ดังกล่าวแล้ว สภาวะนั้นๆจะระงับไปในที่สุด


ผู้ปฏิบัติที่ยังไม่มีปัญญาไตรลักษณ์ จะต้องหมั่นฝึกการเจริญสติ
เพราะสติเป็นเหตุให้เกิดปัญญา และเหตุที่ทำให้เกิดสติก็คือ......สัญญา

สัญญาที่ว่าต้องเป็นความจำได้หมายรู้สภาพธรรมที่เป็นอารมณ์ อย่างเช่น ราคะ โทสะ โมหะ โลภะ
เราเรียกว่า ความจำที่มั่นคง....สัญญาปทัฏฐานา

แนะนำการปฏิบัติเบื้องต้นให้ ส่วนที่กรัชกายโพสมา มันมั่วจะเป็นการทำฌานก็ไม่ใช่
หรือจะเป็นญานก็ยิ่งไกลห่าง สรุปคือมันมั่วก็แล้วกัน :b13:



ยังไม่ว่าทั้งหมด ถามสั้นๆ ก่อนนะ การเจริญสติที่โฮฮับพูด เจริญอย่างไร :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ก.ย. 2013, 20:55 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ธ.ค. 2011, 21:40
โพสต์: 952


 ข้อมูลส่วนตัว


วางอุปทานขันธ์๕เสียเนาะจะได้ ว่าง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ย. 2013, 05:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เงียบไม่ตอบ

ที่ถามพี่โฮข้างบน :b1: เรื่องเจริญสติ ถามเพื่อให้คุณ nong ดูเฉยๆ :b1:

อ้างคำพูด:
พี่กรัชกายชอบเหน็บแนมพี่โฮฮับว่า ดีแต่พุด แล้วพี่ละระวังจะเป็นเหมือนอิเหนานะ...
viewtopic.php?f=1&t=46262&p=335603#p335603


สำหรับกรัชกายเองนะรู้เห็นนานแล้วว่าดูว่าพูดนั่นไม่ผิด คือ พี่โฮดีแต่พืด :b1:

จะให้ดูอีกก็ได้นะ ดูนะเรื่องสังขาร ถามพี่โฮสังขารมีกี่อย่างอะไรบ้าง

อ้างคำพูด:
กรัชกายจะบอกให้น่ะว่า......สังขารกับไตรลักษณ์ มันเป็นคนล่ะส่วนกัน
คนที่ไม่รู้แล้วชอบก็อปปี้แบบเรียนมักจะเป็นแบบกรัชกายนี่แหล่ะ จะบอกให้รู้ว่า.....

สังขาร คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน
ส่วนไตรลักษณ์คือปัญญารู้การ...เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของสังขาร

ความแตกต่างมันอยู่ที่ ความเป็นตัวสังขาร...คือขันธ์ห้า
และความเป็นลักษณะของขันธ์ห้า คือ......การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป



เห็นพูดถึงสังขาร :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ย. 2013, 08:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
ผู้ปฏิบัติที่ยังไม่มีปัญญาไตรลักษณ์ จะต้องหมั่นฝึกการเจริญสติ
เพราะสติเป็นเหตุให้เกิดปัญญา และเหตุที่ทำให้เกิดสติก็คือ......สัญญา

สัญญาที่ว่าต้องเป็นความจำได้หมายรู้สภาพธรรมที่เป็นอารมณ์ อย่างเช่น ราคะ โทสะ โมหะ โลภะ
เราเรียกว่า ความจำที่มั่นคง....สัญญาปทัฏฐานา



ดูความหมายสภาวะที่ตั้งชื่อว่า สัญญา


คัมภีร์ชั้นอรรถกถาแสดงลักษณะหน้าที่เป็นต้นของสัญญาไว้ว่า

สัญญา มีลักษณะจำเพาะ คือ สัญชานน์ (จำได้ รู้จัก) มีหน้าที่ทำเครื่องหมายไว้เป็นปัจจัยแห่งการจำได้ (หรือรู้จัก) ต่อไปว่า “นั่นคือสิ่งนั้น” เหมือนดังช่างไม้ เป็นต้น ทำเครื่องหมายไว้ที่วัสดุมีตัวไม้เป็นอาทิ มีผลปรากฏคือ คือ เกิดความยึดถือไปตามเครื่องหมายที่กำหนดเอาไว้ เหมือนพวกคนตาบอดคลำช้าง ยึดถือไปตามเครื่องหมายที่ตนจับได้ (ว่าช้างเป็นอย่างนั้นๆ) มีปทัฏฐาน คืออารมณ์ตามที่ปรากฏ เหมือนลูกเนื้อเห็นหุ่นคนที่ผูกด้วยมัดหญ้า สำคัญหมายว่าเป็นคนจริงๆ (วิสุทธิมัคค์ 3/35) ถ้าเทียบกับหลักจิตวิทยาฝ่ายตะวันตก สัญญาจะครอบคลุมเรื่อง perception, conception และ recognition (แต่ไม่ใช่ memory ทั้งหมด)


สัญญา แบ่งโดยย่อมี ๒ คือ สัญญาซึ่งเกิดจากความคิดปรุงแต่งที่เป็นอกุศล เรียกว่า ปปัญญจสัญญา (กิเลสสัญญาก็เรียก)

กับ

สัญญาที่เกิดจากความคิดดีงาม เรียกว่า กุศลสัญญาบ้าง วิชชาภาคิยสัญญา บ้าง …..เป็นสัญญาที่ช่วยส่งเสริมความเจริญปัญญา และความงอกงามแห่งกุศลธรรม เช่น หมายรู้ลักษณะอาการที่ชวนให้เกิดความเป็นมิตร หมายรู้ลักษณะอาการซึ่งแสดงภาวะที่เป็นไปตามเหตุปัจจัย ภาวะที่เป็นของไม่เที่ยง ภาวะที่ไร้ตัวตน เป็นต้น


แบ่งเป็น ๖ ตามทางแห่งการรับรู้ คือ


๑. รูปสัญญา ความหมายรู้รูป เช่นว่า ดำ แดง เขียว ขาว เป็นต้น
๒.สัททสัญญา ความหมายรู้เสียง เช่นว่า ดัง เบา ทุ้ม แหลม เป็นต้น
๓. คันธสัญญา ความหมายรู้กลิ่น เช่นว่า หอม เหม็น เป็นต้น
๔. รสสัญญา ความหมายรู้รส เช่นว่า หวาน เปรี้ยว ขม เค็ม เป็นต้น
๕. โผฏฐัพพสัญญา ความหมายรู้สัมผัสทางกาย เช่นว่า อ่อน แข็ง หยาบ ละเอียด ร้อน เย็น เป็นต้น
๖. ธัมมสัญญา ความหมายรู้อารมณ์ทางใจ เช่นว่า งาม น่าเกลียด เที่ยง ไม่เที่ยง เป็นต้น

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ก.ย. 2013, 08:38 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อ้างคำพูด:
สวัสดีคะ ดิฉันสนใจธรรมะ แต่ส่วนมากจะศึกษาเอง อ่านเอง ปฏิบัติเอง ไม่มีอาจารย์สอนเป็นตัวเป็นตน จึงรบกวนผู้รู้และมีประสบการณ์ชี้แนะเพื่อเป็นธรรมทานด้วยคะ
ลำดับการฝึกดิฉันก็คือ พิจารณาร่างกายตลอดเวลา อาบน้ำ กินข้าว ขับถ่าย จนรู้สึกว่าเราแค่มาอาศัย มันไม่ใช่ของเรา ส่วนการนั่งสมาธิก็ใช้คำพุธโธ จนเกิดปีติ อาการปีติก็จะขนลุก ตัวสั่น ตัวโยก (บางครั้ง) หลังจากนั้นลมหายใจก็แผ่วเบา รู้สึกว่าตัวเป็นเป็นเพียงจุดเล็กๆในจักรวาล ไม่มีกาย ไม่มีลมหายใจ เป็นเพียงจุดเท่านั้น อยู่ในที่เวิ้งว้าง ไม่มีขอบเขต ไม่มีอะไรเลย ความรู้สึกคือสุขมากกกกกกกกก.



เมื่อสิบปีก่อน ระหว่างที่นั่งสมาธิอยู่
ทุกอย่างรอบตัวหายไป ตัวเราก็หายไป สัมผัสทั้งหมดหายไป
เป็นเวลานานเท่าไหร่ ก็ไม่รู้
แต่จู่ๆก็เกิด อารมณ์พลุ่งพล่าน ทั้ง โกรธ รัก เกลียด แทบทุกอย่าง ขึ้นมาพร้อมๆกัน
ก็เลย ตกใจออกจากสมาธิมา หลังจากนั้น ก็เลยไม่ได้นั่ง สมาธิอีกเลย
เคยมีใครเป็นแบบนี้ไหม.


ขอรบกวนถามท่านผู้รู้ว่าถ้านั่งสมาธิ จนรู้สึกว่าไม่มีร่างกาย อย่างนี้คืออะไรครับ.



ตำราเรียนรู้บ้าง ไม่ต้องมากเกินก็ได้ แต่รู้หลักถูกต้อง ก็สรุปได้ว่า ธรรมะทั้งมวลรวมลงที่กายยาววา หนาคืบ มีวิญญาณครองนี่เอง ก็ลงมือมนสิการกาย-ใจ (รูป-นาม) ดังบุคคลตัวอย่างนั้น เนื่องๆแล้วๆเล่าๆ เพื่อเสพรสพระธรรม แต่ต้องมีผู้รู้เข้าใจสภาวธรรมช่วยแนะนำ จึงจะข้ามพ้นได้โดยสวัสดี

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.ย. 2013, 03:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
ดูความหมายสภาวะที่ตั้งชื่อว่า สัญญา
คัมภีร์ชั้นอรรถกถาแสดงลักษณะหน้าที่เป็นต้นของสัญญาไว้ว่า

สัญญา มีลักษณะจำเพาะ คือ สัญชานน์ (จำได้ รู้จัก) มีหน้าที่ทำเครื่องหมายไว้เป็นปัจจัยแห่งการจำได้ (หรือรู้จัก) ต่อไปว่า “นั่นคือสิ่งนั้น” เหมือนดังช่างไม้ เป็นต้น ทำเครื่องหมายไว้ที่วัสดุมีตัวไม้เป็นอาทิ มีผลปรากฏคือ คือ เกิดความยึดถือไปตามเครื่องหมายที่กำหนดเอาไว้ เหมือนพวกคนตาบอดคลำช้าง ยึดถือไปตามเครื่องหมายที่ตนจับได้ (ว่าช้างเป็นอย่างนั้นๆ) มีปทัฏฐาน คืออารมณ์ตามที่ปรากฏ เหมือนลูกเนื้อเห็นหุ่นคนที่ผูกด้วยมัดหญ้า สำคัญหมายว่าเป็นคนจริงๆ (วิสุทธิมัคค์ 3/35) ถ้าเทียบกับหลักจิตวิทยาฝ่ายตะวันตก สัญญาจะครอบคลุมเรื่อง perception, conception และ recognition (แต่ไม่ใช่ memory ทั้งหมด)


กรัชกายแน่ใจหรือว่าที่เอามาพุดเป็นเนื้อหาในอรรถกถา
ไหนลองเอาแน่หาแท้ๆมาโพสหรือวางลิ้งอรรถกถาบทนี้หน่อยซิ
จะไปอ่านเพื่อความแน่ใจ

พี่โฮอ่านความเห็นของกรัชกายแล้ว มันมั่วๆอย่างไรก็ไม่รู้
เหมือนกินแกงโฮ๊ะ ตำมั่วอย่างไรอย่างนั้น

เอาเรื่องของขันธ์ห้ามายำซะเละ :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.ย. 2013, 04:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
สัญญา แบ่งโดยย่อมี ๒ คือ สัญญาซึ่งเกิดจากความคิดปรุงแต่งที่เป็นอกุศล เรียกว่า ปปัญญจสัญญา (กิเลสสัญญาก็เรียก)

กับ

สัญญาที่เกิดจากความคิดดีงาม เรียกว่า กุศลสัญญาบ้าง วิชชาภาคิยสัญญา บ้าง …..เป็นสัญญาที่ช่วยส่งเสริมความเจริญปัญญา และความงอกงามแห่งกุศลธรรม เช่น หมายรู้ลักษณะอาการที่ชวนให้เกิดความเป็นมิตร หมายรู้ลักษณะอาการซึ่งแสดงภาวะที่เป็นไปตามเหตุปัจจัย ภาวะที่เป็นของไม่เที่ยง ภาวะที่ไร้ตัวตน เป็นต้น


สัญญาแบ่งเป็น๒น่ะใช่ แต่ไอ้ที่อธิบายมามันใช่อย่างที่พระพุทธเจ้ากำหนดไว้หรือ
ไปลอกบทความเขามาผิดๆถูกแบบเข้ารกเข้าพงหมด

กรัชกาย เขียน:
แบ่งเป็น ๖ ตามทางแห่งการรับรู้ คือ


๑. รูปสัญญา ความหมายรู้รูป เช่นว่า ดำ แดง เขียว ขาว เป็นต้น
๒.สัททสัญญา ความหมายรู้เสียง เช่นว่า ดัง เบา ทุ้ม แหลม เป็นต้น
๓. คันธสัญญา ความหมายรู้กลิ่น เช่นว่า หอม เหม็น เป็นต้น
๔. รสสัญญา ความหมายรู้รส เช่นว่า หวาน เปรี้ยว ขม เค็ม เป็นต้น
๕. โผฏฐัพพสัญญา ความหมายรู้สัมผัสทางกาย เช่นว่า อ่อน แข็ง หยาบ ละเอียด ร้อน เย็น เป็นต้น
๖. ธัมมสัญญา ความหมายรู้อารมณ์ทางใจ เช่นว่า งาม น่าเกลียด เที่ยง ไม่เที่ยง เป็นต้น


นี่ก็มั่ว แสดงว่ายังขาดความเข้าใจอีกเยอะ ไม่เข้าใจเรื่องขันธ์ห้า
ไอ้ที่บอกมานั้นน่ะ เขาเรียกว่ารูปขันธ์

กรัชกายขาดสมาธิแยกเหตุและผลออกจากกัน
ยกตัวอย่างให้ดู
จากตัวอย่างที่กรัชกายยกมา รูปสัญญา มันเป็นเหตุ ส่วน ดำ แดงเขียวขาว...มันเป็นผล
ดังนั้น รูปสัญญากับดำ แดง เขียว ขาว มันเป็นคนล่ะสภาวะกัน
ในข้ออื่นๆก็เช่นกัน


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.ย. 2013, 04:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
สัญญา แบ่งโดยย่อมี ๒ คือ สัญญาซึ่งเกิดจากความคิดปรุงแต่งที่เป็นอกุศล เรียกว่า ปปัญญจสัญญา (กิเลสสัญญาก็เรียก)

กับ

สัญญาที่เกิดจากความคิดดีงาม เรียกว่า กุศลสัญญาบ้าง วิชชาภาคิยสัญญา บ้าง …..เป็นสัญญาที่ช่วยส่งเสริมความเจริญปัญญา และความงอกงามแห่งกุศลธรรม เช่น หมายรู้ลักษณะอาการที่ชวนให้เกิดความเป็นมิตร หมายรู้ลักษณะอาการซึ่งแสดงภาวะที่เป็นไปตามเหตุปัจจัย ภาวะที่เป็นของไม่เที่ยง ภาวะที่ไร้ตัวตน เป็นต้น


สัญญาแบ่งเป็น๒น่ะใช่ แต่ไอ้ที่อธิบายมามันใช่อย่างที่พระพุทธเจ้ากำหนดไว้หรือ
ไปลอกบทความเขามาผิดๆถูกแบบเข้ารกเข้าพงหมด

กรัชกาย เขียน:
แบ่งเป็น ๖ ตามทางแห่งการรับรู้ คือ


๑. รูปสัญญา ความหมายรู้รูป เช่นว่า ดำ แดง เขียว ขาว เป็นต้น
๒.สัททสัญญา ความหมายรู้เสียง เช่นว่า ดัง เบา ทุ้ม แหลม เป็นต้น
๓. คันธสัญญา ความหมายรู้กลิ่น เช่นว่า หอม เหม็น เป็นต้น
๔. รสสัญญา ความหมายรู้รส เช่นว่า หวาน เปรี้ยว ขม เค็ม เป็นต้น
๕. โผฏฐัพพสัญญา ความหมายรู้สัมผัสทางกาย เช่นว่า อ่อน แข็ง หยาบ ละเอียด ร้อน เย็น เป็นต้น
๖. ธัมมสัญญา ความหมายรู้อารมณ์ทางใจ เช่นว่า งาม น่าเกลียด เที่ยง ไม่เที่ยง เป็นต้น


นี่ก็มั่ว แสดงว่ายังขาดความเข้าใจอีกเยอะ ไม่เข้าใจเรื่องขันธ์ห้า
ไอ้ที่บอกมานั้นน่ะ เขาเรียกว่ารูปขันธ์

กรัชกายขาดสมาธิแยกเหตุและผลออกจากกัน
ยกตัวอย่างให้ดู
จากตัวอย่างที่กรัชกายยกมา รูปสัญญา มันเป็นเหตุ ส่วน ดำ แดงเขียวขาว...มันเป็นผล
ดังนั้น รูปสัญญากับดำ แดง เขียว ขาว มันเป็นคนล่ะสภาวะกัน
ในข้ออื่นๆก็เช่นกัน


เห็นแล้วเสทือนใจ
แสดงถึงความไม่เข้าใจความหมายของศัพท์เขาเลยจริงๆ โฮฮับ พอเขานำศัพท์มาสมาสกันเข้าหน่อย ไปไม่เป็น ออกทะเลไปเลย คิกๆๆ มิจฉาทิฏฐิแรงจริงๆ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.ย. 2013, 04:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:

แสดงว่ายังขาดความเข้าใจอีกเยอะ ไม่เข้าใจเรื่องขันธ์ห้า



เข้าใจว่ายังไง ว่าปาย และอธิบายแต่ละขันธ์ๆ มาด้วย จะรอดู :b1:

เกริ่นนำเปิดประเด็นให้หน่อยนะ ขันธ์ ๕ ก็ชีวิต (กายกับใจหรือรูปกับนาม) นี่ล่ะนะ ซึ่งท่านจำแนกออกโดยความเป็นขันธ์ (ว่าโดยปมัตถ์) เพื่ออะไร เพื่อคลายการยึดมั่นถือมั่นว่า อัตตาตัวตน มันก็แค่นี้เอง :b1: แล้วยังจำแนกแยกแยะได้อีกมากมายนะ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.ย. 2013, 05:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
เห็นแล้วเสทือนใจ
แสดงถึงความไม่เข้าใจความหมายของศัพท์เขาเลยจริงๆ โฮฮับ
พอเขานำศัพท์มาสมาสกันเข้าหน่อย ไปไม่เป็น ออกทะเลไปเลย คิกๆๆ มิจฉาทิฏฐิแรงจริงๆ


พี่โฮเข้าใจดี เรื่องศัพท์แสงอะไรนั้น และจะบอกให้ว่า
ตอนพี่โฮเรียนหนังสือ ภาษาไทยที่เป็นวิชาบังคับ พี่ได้เกรด๔ทุกเทอม

พี่โฮเข้าใจอีกว่า ที่กรัชกายแสดงออกมาทุกความเห็น
มันเกิดจาก วิจิกิจฉา
พี่โฮจึงพยายามหาวิธีเพื่อให้กรัชกายละความอวดดี เกรียนไรัสาระเสียก่อน
มันจะได้มีมรรคที่ถูกทางให้เดิน

ถ้ากรัชกายยังทำตัวเกรียนไปวันๆ แบบนี้พี่โฮอีกหลายชาติกว่าจะเข้าใจ

อย่างจะบอกให้เพื่อความเป็นกุศลในใจของกรัชกายเอง
กรัชกายไม่มีปัญญาที่จะแสดงความเห็นก็ไม่ว่า แต่การไปเอาบทความของใครเขามาโพส
มันต้องให้เครดิสเขา ด้วยการวางลิ้งที่มา
การไปเอาบทความเขามาเป็นบางส่วน แล้วเอาความเห็นที่ไม่ได้เรื่องของตนใส่เพิ่ม
มันทำให้คนอื่นเข้าใจผิดในบทความนั้น มันทำให้เสียไปถึงเจ้าของบทความ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.ย. 2013, 05:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เห็นแล้วเสทือนใจ
แสดงถึงความไม่เข้าใจความหมายของศัพท์เขาเลยจริงๆ โฮฮับ
พอเขานำศัพท์มาสมาสกันเข้าหน่อย ไปไม่เป็น ออกทะเลไปเลย คิกๆๆ มิจฉาทิฏฐิแรงจริงๆ


พี่โฮเข้าใจดี เรื่องศัพท์แสงอะไรนั้น และจะบอกให้ว่า
ตอนพี่โฮเรียนหนังสือ ภาษาไทยที่เป็นวิชาบังคับ พี่ได้เกรด๔ทุกเทอม

พี่โฮเข้าใจอีกว่า ที่กรัชกายแสดงออกมาทุกความเห็น
มันเกิดจาก วิจิกิจฉา
พี่โฮจึงพยายามหาวิธีเพื่อให้กรัชกายละความอวดดี เกรียนไรัสาระเสียก่อน
มันจะได้มีมรรคที่ถูกทางให้เดิน

ถ้ากรัชกายยังทำตัวเกรียนไปวันๆ แบบนี้พี่โฮอีกหลายชาติกว่าจะเข้าใจ

อย่างจะบอกให้เพื่อความเป็นกุศลในใจของกรัชกายเอง
กรัชกายไม่มีปัญญาที่จะแสดงความเห็นก็ไม่ว่า แต่การไปเอาบทความของใครเขามาโพส
มันต้องให้เครดิสเขา ด้วยการวางลิ้งที่มา
การไปเอาบทความเขามาเป็นบางส่วน แล้วเอาความเห็นที่ไม่ได้เรื่องของตนใส่เพิ่ม
มันทำให้คนอื่นเข้าใจผิดในบทความนั้น มันทำให้เสียไปถึงเจ้าของบทความ



พี่โฮเข้าใจดี เรื่องศัพท์แสงอะไรนั้น และจะบอกให้ว่า
ตอนพี่โฮเรียนหนังสือ ภาษาไทยที่เป็นวิชาบังคับ พี่ได้เกรด๔ทุกเทอม



นี่อวดรู้ แต่เปล่าปล่อยไก่ ที่พวกเรากำลังพูดกันอยู่นี่เป็นภาษาบาลี พอเข้าใจไหม นี่แหละถึงว่ามั่ว นี่พูดมานานแล้ว

ที่ว่าเนี่ย

อ้างคำพูด:
โฮฮับ เขียน:

แสดงว่ายังขาดความเข้าใจอีกเยอะ ไม่เข้าใจเรื่องขันธ์ห้า


ว่าเข้าใจเรื่องขันธ์ห้าดี ไหนลองว่าให้ฟังหน่อยดิอ้าว ว่าปายยยยย :b1:


อ้างคำพูด:
ถ้ากรัชกายยังทำตัวเกรียนไปวันๆ แบบนี้พี่โฮอีกหลายชาติกว่าจะเข้าใจ



นี่ๆพี่โฮ คิกๆๆ

http://www.youtube.com/watch?v=ieIMq5SkAsM

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ก.ย. 2013, 13:34 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
โฮฮับ เขียน:
กรัชกาย เขียน:
เห็นแล้วเสทือนใจ
แสดงถึงความไม่เข้าใจความหมายของศัพท์เขาเลยจริงๆ โฮฮับ
พอเขานำศัพท์มาสมาสกันเข้าหน่อย ไปไม่เป็น ออกทะเลไปเลย คิกๆๆ มิจฉาทิฏฐิแรงจริงๆ


พี่โฮเข้าใจดี เรื่องศัพท์แสงอะไรนั้น และจะบอกให้ว่า
ตอนพี่โฮเรียนหนังสือ ภาษาไทยที่เป็นวิชาบังคับ พี่ได้เกรด๔ทุกเทอม

พี่โฮเข้าใจอีกว่า ที่กรัชกายแสดงออกมาทุกความเห็น
มันเกิดจาก วิจิกิจฉา
พี่โฮจึงพยายามหาวิธีเพื่อให้กรัชกายละความอวดดี เกรียนไรัสาระเสียก่อน
มันจะได้มีมรรคที่ถูกทางให้เดิน

ถ้ากรัชกายยังทำตัวเกรียนไปวันๆ แบบนี้พี่โฮอีกหลายชาติกว่าจะเข้าใจ

อย่างจะบอกให้เพื่อความเป็นกุศลในใจของกรัชกายเอง
กรัชกายไม่มีปัญญาที่จะแสดงความเห็นก็ไม่ว่า แต่การไปเอาบทความของใครเขามาโพส
มันต้องให้เครดิสเขา ด้วยการวางลิ้งที่มา
การไปเอาบทความเขามาเป็นบางส่วน แล้วเอาความเห็นที่ไม่ได้เรื่องของตนใส่เพิ่ม
มันทำให้คนอื่นเข้าใจผิดในบทความนั้น มันทำให้เสียไปถึงเจ้าของบทความ



พี่โฮเข้าใจดี เรื่องศัพท์แสงอะไรนั้น และจะบอกให้ว่า
ตอนพี่โฮเรียนหนังสือ ภาษาไทยที่เป็นวิชาบังคับ พี่ได้เกรด๔ทุกเทอม



นี่อวดรู้ แต่เปล่าปล่อยไก่ ที่พวกเรากำลังพูดกันอยู่นี่เป็นภาษาบาลี พอเข้าใจไหม นี่แหละถึงว่ามั่ว นี่พูดมานานแล้ว

กรัชกายเขียน......."เห็นแล้วเสทือนใจ
แสดงถึงความไม่เข้าใจความหมายของศัพท์เขาเลยจริงๆ โฮฮับ
พอเขานำศัพท์มาสมาสกันเข้าหน่อย ไปไม่เป็น
ออกทะเลไปเลย คิกๆๆ มิจฉาทิฏฐิแรงจริงๆ"

:b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32: :b32:

ไอ้ที่ปล่อยไก่มันเป็นกรัชกายเองน่ะแหล่ะ ทำเป็นอวดเก่งไร้สาระ
ถามหน่อย ภาษาบาลีมีคำสมาสด้วยหรือ มั่วได้เละมาก ฟังให้ดีจะบอกให้ว่า

คำสมาสเป็นคำในภาษาไทย ที่ยืมเอาภาษาบาลีและสันสกฤตมาใช้
โดยเอาบาลีและสันสกฤตมารวมกันเพื่อให้เกิดคำใหม่ มีความหมายใหม่
แต่ยังมีเค้าเดิมไว้



กรัชกายถามจริงเป็นคนไทยหรือเปล่า สงสัยเป็นพวกแรงงานต่างด้าว
แอบโขมยคอมพ์เถ้าแก่เล่นแง่งๆ :b32:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 132 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร