วันเวลาปัจจุบัน 21 ก.ค. 2025, 19:52  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 129 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ต.ค. 2013, 18:36 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:

การเดินทางของจิตนะถุกผมจึงให้ท่านเดินทางเข้าสุ่ความดับของสังขารตามขั้นตามลำดับ โดยการปฎิบัติสมถะวิปัสนา(อานาปานสติ)ไม่ใช่หยุดการเดินทางของจิตเพียงตัวหนังสือ. ซึ่งเป้นเพียงการละเล่นทางเชาว์ปัญญาเอาไว้เพื่อความบันเทิงทางใจเท่านั้น มิได้หยั่งลงภายใต้รุปนามเลยแล้วจะดับรุปนามได้ย่างไร(ดับสังขารทั้งหลาย)


กาย ที่ในกายานุปัสสนา กับ กาย ที่ใน ตา หู จมุก ลิ้น กาย ใจ กับ กาย ที่ใน กายคตสติ เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร แล้วเราจะปฏิบัติ กายานุปัสสนาอย่างไร ปฏิบัติต่อ กาย ที่ในตา ฯลฯ กาย อย่างไร ปฏิบัิติต่อ กาย ที่ใน กายคตาสติอย่างไรครับ

3 กาย :b1: (ส่วน กาย ที่ใน กรัชกาย ยกไว้ก่อน)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ต.ค. 2013, 18:55 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

การเดินทางของจิตนะถุกผมจึงให้ท่านเดินทางเข้าสุ่ความดับของสังขารตามขั้นตามลำดับ โดยการปฎิบัติสมถะวิปัสนา(อานาปานสติ)ไม่ใช่หยุดการเดินทางของจิตเพียงตัวหนังสือ. ซึ่งเป้นเพียงการละเล่นทางเชาว์ปัญญาเอาไว้เพื่อความบันเทิงทางใจเท่านั้น มิได้หยั่งลงภายใต้รุปนามเลยแล้วจะดับรุปนามได้ย่างไร(ดับสังขารทั้งหลาย)


กาย ที่ในกายานุปัสสนา กับ กาย ที่ใน ตา หู จมุก ลิ้น กาย ใจ กับ กาย ที่ใน กายคตสติ เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร แล้วเราจะปฏิบัติ กายานุปัสสนาอย่างไร ปฏิบัติต่อ กาย ที่ในตา ฯลฯ กาย อย่างไร ปฏิบัิติต่อ กาย ที่ใน กายคตาสติอย่างไรครับ

3 กาย :b1: (ส่วน กาย ที่ใน กรัชกาย ยกไว้ก่อน)
การปฎิบัติก็เพื่อเข้าสุ่การเข้าถึงการตัดขาดอยาตนะเมื่อเข้าถึงการดับสังขารทั้งหลายอายตนะจะหยุดหมดจะเข้าถึงคำว่านิโรธ กิเลสจะถูกทำลายลงโดยปัญญาของมรรคจิตนั้นๆ. การที่พิจารณาอาตนะนั้นเป็นเพียงการเข้าใจถึงเหตุปัจจัยระดับความเข้าใจ(จินตาญาน)การเข้าถึงความดับของอายตนะคือการเข้าถึงภาวนามยปัญญาคือนิโรธ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ต.ค. 2013, 20:57 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

การเดินทางของจิตนะถุกผมจึงให้ท่านเดินทางเข้าสุ่ความดับของสังขารตามขั้นตามลำดับ โดยการปฎิบัติสมถะวิปัสนา(อานาปานสติ)ไม่ใช่หยุดการเดินทางของจิตเพียงตัวหนังสือ. ซึ่งเป้นเพียงการละเล่นทางเชาว์ปัญญาเอาไว้เพื่อความบันเทิงทางใจเท่านั้น มิได้หยั่งลงภายใต้รุปนามเลยแล้วจะดับรุปนามได้ย่างไร(ดับสังขารทั้งหลาย)


กาย ที่ในกายานุปัสสนา กับ กาย ที่ใน ตา หู จมุก ลิ้น กาย ใจ กับ กาย ที่ใน กายคตสติ เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร แล้วเราจะปฏิบัติ กายานุปัสสนาอย่างไร ปฏิบัติต่อ กาย ที่ในตา ฯลฯ กาย อย่างไร ปฏิบัิติต่อ กาย ที่ใน กายคตาสติอย่างไรครับ

3 กาย :b1: (ส่วน กาย ที่ใน กรัชกาย ยกไว้ก่อน)


การปฎิบัติก็เพื่อเข้าสุ่การเข้าถึงการตัดขาดอยาตนะเมื่อเข้าถึงการดับสังขารทั้งหลายอายตนะจะหยุดหมดจะเข้าถึงคำว่านิโรธ กิเลสจะถูกทำลายลงโดยปัญญาของมรรคจิตนั้นๆ. การที่พิจารณาอาตนะนั้นเป็นเพียงการเข้าใจถึงเหตุปัจจัยระดับความเข้าใจ(จินตาญาน)การเข้าถึงความดับของอายตนะคือการเข้าถึงภาวนามยปัญญาคือนิโรธ



เหมือนเราพูดกันคนละเรื่องเีดียวกันนะขอรับ คิกๆ เหมือนไม่ฟังเสียงนกเสียงกาเลย

พยายามถามอีกทีสิ อายตนะ นี่อะไรครับ เราไปตัดมันทำไม

ฟังเพลงมั่งเหอะ

http://www.youtube.com/watch?v=PO6AdCGJHaA

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 11 ต.ค. 2013, 21:13 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


ขอเข้ามาฮา อาตนะหยุดแล้วจะเข้าถึงนิโรธ
คุนน้องขำจนท้องแข็งละ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ต.ค. 2013, 08:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

การเดินทางของจิตนะถุกผมจึงให้ท่านเดินทางเข้าสุ่ความดับของสังขารตามขั้นตามลำดับ โดยการปฎิบัติสมถะวิปัสนา(อานาปานสติ)ไม่ใช่หยุดการเดินทางของจิตเพียงตัวหนังสือ. ซึ่งเป้นเพียงการละเล่นทางเชาว์ปัญญาเอาไว้เพื่อความบันเทิงทางใจเท่านั้น มิได้หยั่งลงภายใต้รุปนามเลยแล้วจะดับรุปนามได้ย่างไร(ดับสังขารทั้งหลาย)


กาย ที่ในกายานุปัสสนา กับ กาย ที่ใน ตา หู จมุก ลิ้น กาย ใจ กับ กาย ที่ใน กายคตสติ เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร แล้วเราจะปฏิบัติ กายานุปัสสนาอย่างไร ปฏิบัติต่อ กาย ที่ในตา ฯลฯ กาย อย่างไร ปฏิบัิติต่อ กาย ที่ใน กายคตาสติอย่างไรครับ

3 กาย :b1: (ส่วน กาย ที่ใน กรัชกาย ยกไว้ก่อน)
การปฎิบัติก็เพื่อเข้าสุ่การเข้าถึงการตัดขาดอยาตนะเมื่อเข้าถึงการดับสังขารทั้งหลายอายตนะจะหยุดหมดจะเข้าถึงคำว่านิโรธ กิเลสจะถูกทำลายลงโดยปัญญาของมรรคจิตนั้นๆ. การที่พิจารณาอาตนะนั้นเป็นเพียงการเข้าใจถึงเหตุปัจจัยระดับความเข้าใจ(จินตาญาน)การเข้าถึงความดับของอายตนะคือการเข้าถึงภาวนามยปัญญาคือนิโรธ



ดูความหมายคำว่า "อายตนะ" อายตนะ หมายถึง (หลบคำว่า แปลว่า ....) ที่ต่อ หรือแดน แค่นี้เองความหมายของมัน จบตอนหนึ่ง (เราไปตัดมันเพื่อประโยชน์อะไร)

ถามต่ออีกว่า ที่ต่ออะไรกับอะไร

หมายถึง ที่ต่อให้เกิดความรู้ แดนเชื่อมต่อให้เกิดความรู้ หรือแหล่งที่มาของความรู้ ความหมายง่ายๆ ว่า "ทางรับรู้" ..... ทางรับรู้มี 6 อย่าง ดังที่เรียกในภาษาไทยว่า ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (บาลีก็ จักขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย มโน อายตนะภายใน)

ที่ว่า ต่อ หรือเชื่อมต่อ ให้เกิดความรู้นั้น ต่อ หรือ เชื่อมต่อกับอะไร ?

ตอบว่า เชื่อมต่อกับโลก คือสภาพแวดล้อมภายนอก แต่โลกนั้นปรากฎลักษณะอาการแก่มนุษย์เป็นส่วนๆ ด้านๆ ไป เท่าที่มนุษย์จะมีแดน หรือเครื่องมือสำหรับรับรู้ คือ เท่าจำนวนอายตนะ 6 ดังกล่าว ดังนั้น อายตนะทั้ง 6 จึงมีคู่ของมัน อยู่ในโลกเป็นสิ่งที่ถูกรับรู้สำหรับแต่ละอย่างๆโดยเฉพาะ

สิ่งที่ถูกรับรู้หรือลักษณะอาการต่างๆ ของโลกเหล่านี้ เรียกว่าอายตนะเหมือนกัน เพราะเป็นสิ่งที่เชื่อมต่อให้เกิดความรู้ หรือเป็นแหล่งความรู้ เช่นเีดียวกัน แต่เป็นฝ่ายภายนอก เพื่อแยกประเภทจากกันไม่ให้สับสน ท่านเรียกอายตนะพวกแรกว่า "อายตนะภายใน" (แดนต่อความรู้ฝ่ายภายใน) และเรียกอายตนะพวกหลังนี้ว่า "อายตนะภายนอก" (แดนต่อความรู้ฝ่ายภายนอก)

อายตนะภายนอก 6 อันไ้ด้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส สิ่งต้องกาย (โผฏฐัพพะ) และสิ่งที่ใจนึก (ธรรมารมณ์) โดยทั่วไปเรียกว่า "อารมณ์" หมายถึง สิ่งอันเป็นที่สำหรับจิตมาหน่วงอยู่ หรือสิ่งสำหรับยึดหน่วงของจิต พูดง่ายๆว่า สิ่งที่ถูกรับรู้ หรือสิ่งที่ถูกรู้ (นั่นเอง)

เมื่ออายตนะภายใน กระทบกับกับอารมณ์ ก็จะเกิดความรู้จำเพาะด้านของอายตนะแต่ละอย่างๆ ขึ้น เช่น ตากระทบรูป เกิดความรู้เรียกว่า เห็น หูกระทบเสียง เกิดความรู้ เรียกว่าไ้ด้ยิน เป็นต้น ความรู้จำเพาะแต่ละด้านนี้เรียกว่า "วิญญาณ" หมายถึงความรู้แจ้ง คือรู้อารมณ์

ดังนั้น วิญญาณ จึงมี 6 อย่าง เท่ากับอายตนะและอารมณ์ 6 คู่ คือ วิญญาณทางตา ไ้ด้แก่ เห็น วิญญาณทางหู ไ้ด้แก่ ไ้ด้ยิน วิญญาณทางจมูก ไ้ด้แก่ ไ้ด้กลิ่น วิญญาณทางลิ้น ไ้ด้แก่ รู้รส วิญญาณทางกาย ไ้ด้แ่ก่ รู้สึกต้องกาย วิญญาณทางใจ ไ้้ด้แก่ รู้อารมณ์ทางใจ หรือรู้เรื่องในใจ

ที่ท่านกล่าวนี้ เป็นธรรมชาติล้วนๆ ไม่กล่าวถึง นาย ก. นาย ช. นางนั่น นางนี่ นายกรัชกาย นาย amazing เป็นต้น ซึ่งเป็นสมมติบัญญัติเลย แยกตรงนี้ให้ออกก่อน จึงจะพอเห็นแสงแห่งพระธรรมรำไรๆ เรียกว่ามองเห็นระดับหนึ่ง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ต.ค. 2013, 08:59 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

การเดินทางของจิตนะถุกผมจึงให้ท่านเดินทางเข้าสุ่ความดับของสังขารตามขั้นตามลำดับ โดยการปฎิบัติสมถะวิปัสนา(อานาปานสติ)ไม่ใช่หยุดการเดินทางของจิตเพียงตัวหนังสือ. ซึ่งเป้นเพียงการละเล่นทางเชาว์ปัญญาเอาไว้เพื่อความบันเทิงทางใจเท่านั้น มิได้หยั่งลงภายใต้รุปนามเลยแล้วจะดับรุปนามได้ย่างไร(ดับสังขารทั้งหลาย)


กาย ที่ในกายานุปัสสนา กับ กาย ที่ใน ตา หู จมุก ลิ้น กาย ใจ กับ กาย ที่ใน กายคตสติ เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร แล้วเราจะปฏิบัติ กายานุปัสสนาอย่างไร ปฏิบัติต่อ กาย ที่ในตา ฯลฯ กาย อย่างไร ปฏิบัิติต่อ กาย ที่ใน กายคตาสติอย่างไรครับ

3 กาย :b1: (ส่วน กาย ที่ใน กรัชกาย ยกไว้ก่อน)
การปฎิบัติก็เพื่อเข้าสุ่การเข้าถึงการตัดขาดอยาตนะเมื่อเข้าถึงการดับสังขารทั้งหลายอายตนะจะหยุดหมดจะเข้าถึงคำว่านิโรธ กิเลสจะถูกทำลายลงโดยปัญญาของมรรคจิตนั้นๆ. การที่พิจารณาอาตนะนั้นเป็นเพียงการเข้าใจถึงเหตุปัจจัยระดับความเข้าใจ(จินตาญาน)การเข้าถึงความดับของอายตนะคือการเข้าถึงภาวนามยปัญญาคือนิโรธ



ดูความหมายคำว่า "อายตนะ" อายตนะ หมายถึง (หลบคำว่า แปลว่า ....) ที่ต่อ หรือแดน แค่นี้เองความหมายของมัน จบตอนหนึ่ง (เราไปตัดมันเพื่อประโยชน์อะไร)

ถามต่ออีกว่า ที่ต่ออะไรกับอะไร

หมายถึง ที่ต่อให้เกิดความรู้ แดนเชื่อมต่อให้เกิดความรู้ หรือแหล่งที่มาของความรู้ ความหมายง่ายๆ ว่า "ทางรับรู้" ..... ทางรับรู้มี 6 อย่าง ดังที่เรียกในภาษาไทยว่า ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (บาลีก็ จักขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย มโน อายตนะภายใน)

ที่ว่า ต่อ หรือเชื่อมต่อ ให้เกิดความรู้นั้น ต่อ หรือ เชื่อมต่อกับอะไร ?

ตอบว่า เชื่อมต่อกับโลก คือสภาพแวดล้อมภายนอก แต่โลกนั้นปรากฎลักษณะอาการแก่มนุษย์เป็นส่วนๆ ด้านๆ ไป เท่าที่มนุษย์จะมีแดน หรือเครื่องมือสำหรับรับรู้ คือ เท่าจำนวนอายตนะ 6 ดังกล่าว ดังนั้น อายตนะทั้ง 6 จึงมีคู่ของมัน อยู่ในโลกเป็นสิ่งที่ถูกรับรู้สำหรับแต่ละอย่างๆโดยเฉพาะ

สิ่งที่ถูกรับรู้หรือลักษณะอาการต่างๆ ของโลกเหล่านี้ เรียกว่าอายตนะเหมือนกัน เพราะเป็นสิ่งที่เชื่อมต่อให้เกิดความรู้ หรือเป็นแหล่งความรู้ เช่นเีดียวกัน แต่เป็นฝ่ายภายนอก เพื่อแยกประเภทจากกันไม่ให้สับสน ท่านเรียกอายตนะพวกแรกว่า "อายตนะภายใน" (แดนต่อความรู้ฝ่ายภายใน) และเรียกอายตนะพวกหลังนี้ว่า "อายตนะภายนอก" (แดนต่อความรู้ฝ่ายภายนอก)

อายตนะภายนอก 6 อันไ้ด้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส สิ่งต้องกาย (โผฏฐัพพะ) และสิ่งที่ใจนึก (ธรรมารมณ์) โดยทั่วไปเรียกว่า "อารมณ์" หมายถึง สิ่งอันเป็นที่สำหรับจิตมาหน่วงอยู่ หรือสิ่งสำหรับยึดหน่วงของจิต พูดง่ายๆว่า สิ่งที่ถูกรับรู้ หรือสิ่งที่ถูกรู้ (นั่นเอง)

เมื่ออายตนะภายใน กระทบกับกับอารมณ์ ก็จะเกิดความรู้จำเพาะด้านของอายตนะแต่ละอย่างๆ ขึ้น เช่น ตากระทบรูป เกิดความรู้เรียกว่า เห็น หูกระทบเสียง เกิดความรู้ เรียกว่าไ้ด้ยิน เป็นต้น ความรู้จำเพาะแต่ละด้านนี้เรียกว่า "วิญญาณ" หมายถึงความรู้แจ้ง คือรู้อารมณ์

ดังนั้น วิญญาณ จึงมี 6 อย่าง เท่ากับอายตนะและอารมณ์ 6 คู่ คือ วิญญาณทางตา ไ้ด้แก่ เห็น วิญญาณทางหู ไ้ด้แก่ ไ้ด้ยิน วิญญาณทางจมูก ไ้ด้แก่ ไ้ด้กลิ่น วิญญาณทางลิ้น ไ้ด้แก่ รู้รส วิญญาณทางกาย ไ้ด้แ่ก่ รู้สึกต้องกาย วิญญาณทางใจ ไ้้ด้แก่ รู้อารมณ์ทางใจ หรือรู้เรื่องในใจ

ที่ท่านกล่าวนี้ เป็นธรรมชาติล้วนๆ ไม่กล่าวถึง นาย ก. นาย ช. นางนั่น นางนี่ นายกรัชกาย นาย amazing เป็นต้น ซึ่งเป็นสมมติบัญญัติเลย แยกตรงนี้ให้ออกก่อน จึงจะพอเห็นแสงแห่งพระธรรมรำไรๆ เรียกว่ามองเห็นระดับหนึ่ง
ถ้าเราเข้าถึงการตัดขาดหรือการเชื่มต่อของรุปกับนาม(อายตะภายใน กับอาตนะภายนอกได้. ดุเหมือนเราจะอยุ่ได้ด้วยความคงทนถาวรแทบไม่รุ้ถึงเรื่องราวของความเป็นจริงเลยว่า มันเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไป. เราอาจจะเคยเรียนรุ้มาบ้างว่าทุกสิ่งเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไปและเราก็ไตร่ตรองดูเอ้อ! มันก็น่าจะยอมรับความเป็นจริงตามนั้นได้ ความจริงที่รับรุ้มานั้นมันก็เป้นความจริงอยุ่แต่มัน็เป้นความจริงแค่ขอบเขตของการรับฟัง(สุตตะ)และความจริงขั้นไตร่ตรองหาเหตุผลมารองรับ(จินตะ)ความจริงนั้นยังไม่ได้เกิดเป็นรุปธรรมจนเข้าใจในความจริงอย่างถุกต้องตามความจริงที่มันเป้นอยุ่. ความจริงนี้เรียกว่าภาวนามยปัญญา. ส่วนที่ท่านบรรยายมานั้นมันเป็นการแยกแยะตามเหตุผลของความจริงของความหมายแห่งบัญญัติที่ใช้เรียกสิ่งนั้นๆเป็นสุตตะและจินตะยังไม่ใช่การภาวนา. เป้นสิ่งที่ต้องศึกษาทำความเข้าใจขาดมิได้ แตบนเส้นทางของการดับกิเลสเราจะหยุดอยุ่เพียงแค่นั้นไม่ได้. เราต้องปฎิบัติเจาะลึกลงไปภายใต้รุปนามโดยอานาปานสตินี้แหล่ะ


แก้ไขล่าสุดโดย amazing เมื่อ 12 ต.ค. 2013, 13:29, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ต.ค. 2013, 11:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

การเดินทางของจิตนะถุกผมจึงให้ท่านเดินทางเข้าสุ่ความดับของสังขารตามขั้นตามลำดับ โดยการปฎิบัติสมถะวิปัสนา(อานาปานสติ)ไม่ใช่หยุดการเดินทางของจิตเพียงตัวหนังสือ. ซึ่งเป้นเพียงการละเล่นทางเชาว์ปัญญาเอาไว้เพื่อความบันเทิงทางใจเท่านั้น มิได้หยั่งลงภายใต้รุปนามเลยแล้วจะดับรุปนามได้ย่างไร(ดับสังขารทั้งหลาย)


กาย ที่ในกายานุปัสสนา กับ กาย ที่ใน ตา หู จมุก ลิ้น กาย ใจ กับ กาย ที่ใน กายคตสติ เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร แล้วเราจะปฏิบัติ กายานุปัสสนาอย่างไร ปฏิบัติต่อ กาย ที่ในตา ฯลฯ กาย อย่างไร ปฏิบัิติต่อ กาย ที่ใน กายคตาสติอย่างไรครับ

3 กาย :b1: (ส่วน กาย ที่ใน กรัชกาย ยกไว้ก่อน)
การปฎิบัติก็เพื่อเข้าสุ่การเข้าถึงการตัดขาดอยาตนะเมื่อเข้าถึงการดับสังขารทั้งหลายอายตนะจะหยุดหมดจะเข้าถึงคำว่านิโรธ กิเลสจะถูกทำลายลงโดยปัญญาของมรรคจิตนั้นๆ. การที่พิจารณาอาตนะนั้นเป็นเพียงการเข้าใจถึงเหตุปัจจัยระดับความเข้าใจ(จินตาญาน)การเข้าถึงความดับของอายตนะคือการเข้าถึงภาวนามยปัญญาคือนิโรธ



ดูความหมายคำว่า "อายตนะ" อายตนะ หมายถึง (หลบคำว่า แปลว่า ....) ที่ต่อ หรือแดน แค่นี้เองความหมายของมัน จบตอนหนึ่ง (เราไปตัดมันเพื่อประโยชน์อะไร)

ถามต่ออีกว่า ที่ต่ออะไรกับอะไร

หมายถึง ที่ต่อให้เกิดความรู้ แดนเชื่อมต่อให้เกิดความรู้ หรือแหล่งที่มาของความรู้ ความหมายง่ายๆ ว่า "ทางรับรู้" ..... ทางรับรู้มี 6 อย่าง ดังที่เรียกในภาษาไทยว่า ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (บาลีก็ จักขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย มโน อายตนะภายใน)

ที่ว่า ต่อ หรือเชื่อมต่อ ให้เกิดความรู้นั้น ต่อ หรือ เชื่อมต่อกับอะไร ?

ตอบว่า เชื่อมต่อกับโลก คือสภาพแวดล้อมภายนอก แต่โลกนั้นปรากฎลักษณะอาการแก่มนุษย์เป็นส่วนๆ ด้านๆ ไป เท่าที่มนุษย์จะมีแดน หรือเครื่องมือสำหรับรับรู้ คือ เท่าจำนวนอายตนะ 6 ดังกล่าว ดังนั้น อายตนะทั้ง 6 จึงมีคู่ของมัน อยู่ในโลกเป็นสิ่งที่ถูกรับรู้สำหรับแต่ละอย่างๆโดยเฉพาะ

สิ่งที่ถูกรับรู้หรือลักษณะอาการต่างๆ ของโลกเหล่านี้ เรียกว่าอายตนะเหมือนกัน เพราะเป็นสิ่งที่เชื่อมต่อให้เกิดความรู้ หรือเป็นแหล่งความรู้ เช่นเีดียวกัน แต่เป็นฝ่ายภายนอก เพื่อแยกประเภทจากกันไม่ให้สับสน ท่านเรียกอายตนะพวกแรกว่า "อายตนะภายใน" (แดนต่อความรู้ฝ่ายภายใน) และเรียกอายตนะพวกหลังนี้ว่า "อายตนะภายนอก" (แดนต่อความรู้ฝ่ายภายนอก)

อายตนะภายนอก 6 อันไ้ด้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส สิ่งต้องกาย (โผฏฐัพพะ) และสิ่งที่ใจนึก (ธรรมารมณ์) โดยทั่วไปเรียกว่า "อารมณ์" หมายถึง สิ่งอันเป็นที่สำหรับจิตมาหน่วงอยู่ หรือสิ่งสำหรับยึดหน่วงของจิต พูดง่ายๆว่า สิ่งที่ถูกรับรู้ หรือสิ่งที่ถูกรู้ (นั่นเอง)

เมื่ออายตนะภายใน กระทบกับกับอารมณ์ ก็จะเกิดความรู้จำเพาะด้านของอายตนะแต่ละอย่างๆ ขึ้น เช่น ตากระทบรูป เกิดความรู้เรียกว่า เห็น หูกระทบเสียง เกิดความรู้ เรียกว่าไ้ด้ยิน เป็นต้น ความรู้จำเพาะแต่ละด้านนี้เรียกว่า "วิญญาณ" หมายถึงความรู้แจ้ง คือรู้อารมณ์

ดังนั้น วิญญาณ จึงมี 6 อย่าง เท่ากับอายตนะและอารมณ์ 6 คู่ คือ วิญญาณทางตา ไ้ด้แก่ เห็น วิญญาณทางหู ไ้ด้แก่ ไ้ด้ยิน วิญญาณทางจมูก ไ้ด้แก่ ไ้ด้กลิ่น วิญญาณทางลิ้น ไ้ด้แก่ รู้รส วิญญาณทางกาย ไ้ด้แ่ก่ รู้สึกต้องกาย วิญญาณทางใจ ไ้้ด้แก่ รู้อารมณ์ทางใจ หรือรู้เรื่องในใจ

ที่ท่านกล่าวนี้ เป็นธรรมชาติล้วนๆ ไม่กล่าวถึง นาย ก. นาย ช. นางนั่น นางนี่ นายกรัชกาย นาย amazing เป็นต้น ซึ่งเป็นสมมติบัญญัติเลย แยกตรงนี้ให้ออกก่อน จึงจะพอเห็นแสงแห่งพระธรรมรำไรๆ เรียกว่ามองเห็นระดับหนึ่ง
ถ้าเราเข้าถึงการตัดขาดหรือการเชื่มต่อของรุปกับนาม(อายตะภายใน กับอาตนะภายนอกได้. ดุเหมือนเราจะอยุ่ได้ด้วยความคงทนถาวรแถบไม่รุ้ถึงเรื่องราวของความเป็นจริงเลยว่า มันเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไป. เราอาจจะเคยเรียนรุ้มาบ้างว่าทุกสิ่งเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไปและเราก็ไตร่ตรองดูเอ้อ! มันก็น่าจะยอมรับความเป็นจริงตามนั้นได้ ความจริงที่รับรุ้มานั้นมันก็เป้นความจริงอยุ่แต่มัน็เป้นความจริงแค่ขอบเขตของการรับฟัง(สุตตะ)และความจริงขั้นไตร่ตรองหาเหตุผลมารองรับ(จินตะ)ความจริงนั้นยังไม่ได้เกิดเป็นรุปธรรมจนเข้าใจในความจริงอย่างถุกต้องตามความจริงที่มันเป้นอยุ่. ความจริงนี้เรียกว่าภาวนามยปัญญา. ส่วนที่ท่านบรรยายมานั้นมันเป็นการแยกแยะตามเหตุผลของความจริงของความหมายแห่งบัญญัติที่ใช้เรียกสิ่งนั้นๆเป็นสุตตะและจินตะยังไม่ใช่การภาวนา. เป้นสิ่งที่ต้องศึกษาทำความเข้าใจขาดมิได้ แตบนเส้นทางของการดับกิเลสเราจะหยุดอยุ่เพียงแค่นั้นไม่ได้. เราต้องปฎิบัติเจาะลึกลงไปภายใต้รุปนามโดยอานาปานสตินี้แหล่ะ



มีอยู่ 3 กาย (กรัชกาย ยกเว้น :b1: ) อยากให้ amazing ตอบชัดๆ 1. กาย ในกายานุปัสสนา 2. กายคตาสติ 3. กาย ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย

เหมือนกันหรือต่างกันอย่า่งไร และเราใช้วิธีปฏิบัิติต่อกายทั้ง 3 อย่างไร :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ต.ค. 2013, 11:23 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:

ถ้าเราเข้าถึงการตัดขาดหรือการเชื่มต่อของรุปกับนาม(อายตะภายใน กับอาตนะภายนอกได้. ดุเหมือนเราจะอยุ่ได้ด้วยความคงทนถาวรแถบไม่รุ้ถึงเรื่องราวของความเป็นจริงเลยว่า มันเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไป. เราอาจจะเคยเรียนรุ้มาบ้างว่าทุกสิ่งเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไปและเราก็ไตร่ตรองดูเอ้อ! มันก็น่าจะยอมรับความเป็นจริงตามนั้นได้ ความจริงที่รับรุ้มานั้นมันก็เป้นความจริงอยุ่แต่มัน็เป้นความจริงแค่ขอบเขตของการรับฟัง(สุตตะ)และความจริงขั้นไตร่ตรองหาเหตุผลมารองรับ(จินตะ)ความจริงนั้นยังไม่ได้เกิดเป็นรุปธรรมจนเข้าใจในความจริงอย่างถุกต้องตามความจริงที่มันเป้นอยุ่. ความจริงนี้เรียกว่าภาวนามยปัญญา. ส่วนที่ท่านบรรยายมานั้นมันเป็นการแยกแยะตามเหตุผลของความจริงของความหมายแห่งบัญญัติที่ใช้เรียกสิ่งนั้นๆเป็นสุตตะและจินตะยังไม่ใช่การภาวนา. เป้นสิ่งที่ต้องศึกษาทำความเข้าใจขาดมิได้ แตบนเส้นทางของการดับกิเลสเราจะหยุดอยุ่เพียงแค่นั้นไม่ได้. เราต้องปฎิบัติเจาะลึกลงไปภายใต้รุปนามโดยอานาปานสตินี้แหล่ะ


ธรรมชาติ มีสภาพอย่างนั้นของมันอยู่เองแล้ว ปัญหาอยู่แค่ว่า เรารู้ความเป็นอย่างนั้นของมันหรือไม่หรือยัง ถ้ายังก็คงต้องเจาะต้องไชต้องปฏิบัติต่อไป ถ้ารู้ตามที่เป็นแล้วจบเลย พอเข้าใจที่พูดมั้ย

คือถ้ายังเทียวเจาะตรงนั้น ไชตรงนี้ ดับตรงนั่น จุดตรงนี่ พล่านไป แสดงว่ากำลังปรุงแต่งความคิด เพื่อต้องการจะให้ธรรมชาติมันเป็นไปตามความต้องการของเราแล. :b32:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ต.ค. 2013, 11:37 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

ถ้าเราเข้าถึงการตัดขาดหรือการเชื่มต่อของรุปกับนาม(อายตะภายใน กับอาตนะภายนอกได้. ดุเหมือนเราจะอยุ่ได้ด้วยความคงทนถาวรแถบไม่รุ้ถึงเรื่องราวของความเป็นจริงเลยว่า มันเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไป. เราอาจจะเคยเรียนรุ้มาบ้างว่าทุกสิ่งเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไปและเราก็ไตร่ตรองดูเอ้อ! มันก็น่าจะยอมรับความเป็นจริงตามนั้นได้ ความจริงที่รับรุ้มานั้นมันก็เป้นความจริงอยุ่แต่มัน็เป้นความจริงแค่ขอบเขตของการรับฟัง(สุตตะ)และความจริงขั้นไตร่ตรองหาเหตุผลมารองรับ(จินตะ)ความจริงนั้นยังไม่ได้เกิดเป็นรุปธรรมจนเข้าใจในความจริงอย่างถุกต้องตามความจริงที่มันเป้นอยุ่. ความจริงนี้เรียกว่าภาวนามยปัญญา. ส่วนที่ท่านบรรยายมานั้นมันเป็นการแยกแยะตามเหตุผลของความจริงของความหมายแห่งบัญญัติที่ใช้เรียกสิ่งนั้นๆเป็นสุตตะและจินตะยังไม่ใช่การภาวนา. เป้นสิ่งที่ต้องศึกษาทำความเข้าใจขาดมิได้ แตบนเส้นทางของการดับกิเลสเราจะหยุดอยุ่เพียงแค่นั้นไม่ได้. เราต้องปฎิบัติเจาะลึกลงไปภายใต้รุปนามโดยอานาปานสตินี้แหล่ะ


ธรรมชาติ มีสภาพอย่างนั้นของมันอยู่เองแล้ว ปัญหาอยู่แค่ว่า เรารู้ความเป็นอย่างนั้นของมันหรือไม่หรือยัง ถ้ายังก็คงต้องเจาะต้องไชต้องปฏิบัติต่อไป ถ้ารู้ตามที่เป็นแล้วจบเลย พอเข้าใจที่พูดมั้ย

คือถ้ายังเทียวเจาะตรงนั้น ไชตรงนี้ ดับตรงนั่น จุดตรงนี่ พล่านไป แสดงว่ากำลังปรุงแต่งความคิด เพื่อต้องการจะให้ธรรมชาติมันเป็นไปตามความต้องการของเราแล. :b32:
กรัชกายตราบใดท่านยังไม่เข้าถึงความละเอียดที่สุดท่านก็รุ้แบบเท่าที่รุ้นั้นแหล่ะ. อยุ่ช่วยพระองค์โปรดสัตว์อีกหลากัปล์เถอะ


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ต.ค. 2013, 11:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

ถ้าเราเข้าถึงการตัดขาดหรือการเชื่มต่อของรุปกับนาม(อายตะภายใน กับอาตนะภายนอกได้. ดุเหมือนเราจะอยุ่ได้ด้วยความคงทนถาวรแถบไม่รุ้ถึงเรื่องราวของความเป็นจริงเลยว่า มันเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไป. เราอาจจะเคยเรียนรุ้มาบ้างว่าทุกสิ่งเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไปและเราก็ไตร่ตรองดูเอ้อ! มันก็น่าจะยอมรับความเป็นจริงตามนั้นได้ ความจริงที่รับรุ้มานั้นมันก็เป้นความจริงอยุ่แต่มัน็เป้นความจริงแค่ขอบเขตของการรับฟัง(สุตตะ)และความจริงขั้นไตร่ตรองหาเหตุผลมารองรับ(จินตะ)ความจริงนั้นยังไม่ได้เกิดเป็นรุปธรรมจนเข้าใจในความจริงอย่างถุกต้องตามความจริงที่มันเป้นอยุ่. ความจริงนี้เรียกว่าภาวนามยปัญญา. ส่วนที่ท่านบรรยายมานั้นมันเป็นการแยกแยะตามเหตุผลของความจริงของความหมายแห่งบัญญัติที่ใช้เรียกสิ่งนั้นๆเป็นสุตตะและจินตะยังไม่ใช่การภาวนา. เป้นสิ่งที่ต้องศึกษาทำความเข้าใจขาดมิได้ แตบนเส้นทางของการดับกิเลสเราจะหยุดอยุ่เพียงแค่นั้นไม่ได้. เราต้องปฎิบัติเจาะลึกลงไปภายใต้รุปนามโดยอานาปานสตินี้แหล่ะ


ธรรมชาติ มีสภาพอย่างนั้นของมันอยู่เองแล้ว ปัญหาอยู่แค่ว่า เรารู้ความเป็นอย่างนั้นของมันหรือไม่หรือยัง ถ้ายังก็คงต้องเจาะต้องไชต้องปฏิบัติต่อไป ถ้ารู้ตามที่เป็นแล้วจบเลย พอเข้าใจที่พูดมั้ย

คือถ้ายังเทียวเจาะตรงนั้น ไชตรงนี้ ดับตรงนั่น จุดตรงนี่ พล่านไป แสดงว่ากำลังปรุงแต่งความคิด เพื่อต้องการจะให้ธรรมชาติมันเป็นไปตามความต้องการของเราแล. :b32:



กรัชกายตราบใดท่านยังไม่เข้าถึงความละเอียดที่สุดท่านก็รุ้แบบเท่าที่รุ้นั้นแหล่ะ. อยุ่ช่วยพระองค์โปรดสัตว์อีกหลากัปล์เถอะ


อเมสซิ่งจะรีบไปไหนครับ คิกๆๆ

แล้วความละเอียดที่สุดได้แก่ อะไรครับ พูดค้างๆคาๆ เหมือนคนฉี่ไม่สุด :b32: มันทรมานนะครับ เอาสุดๆไปเลยไม่ต้องกั๊กต้องโต๊ดแล้ว แทงตรงๆไปเลย ละเอียดละออ ได้แก่ อะไร ชัดๆ :b36:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ต.ค. 2013, 12:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

ถ้าเราเข้าถึงการตัดขาดหรือการเชื่มต่อของรุปกับนาม(อายตะภายใน กับอาตนะภายนอกได้. ดุเหมือนเราจะอยุ่ได้ด้วยความคงทนถาวรแถบไม่รุ้ถึงเรื่องราวของความเป็นจริงเลยว่า มันเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไป. เราอาจจะเคยเรียนรุ้มาบ้างว่าทุกสิ่งเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไปและเราก็ไตร่ตรองดูเอ้อ! มันก็น่าจะยอมรับความเป็นจริงตามนั้นได้ ความจริงที่รับรุ้มานั้นมันก็เป้นความจริงอยุ่แต่มัน็เป้นความจริงแค่ขอบเขตของการรับฟัง(สุตตะ)และความจริงขั้นไตร่ตรองหาเหตุผลมารองรับ(จินตะ)ความจริงนั้นยังไม่ได้เกิดเป็นรุปธรรมจนเข้าใจในความจริงอย่างถุกต้องตามความจริงที่มันเป้นอยุ่. ความจริงนี้เรียกว่าภาวนามยปัญญา. ส่วนที่ท่านบรรยายมานั้นมันเป็นการแยกแยะตามเหตุผลของความจริงของความหมายแห่งบัญญัติที่ใช้เรียกสิ่งนั้นๆเป็นสุตตะและจินตะยังไม่ใช่การภาวนา. เป้นสิ่งที่ต้องศึกษาทำความเข้าใจขาดมิได้ แตบนเส้นทางของการดับกิเลสเราจะหยุดอยุ่เพียงแค่นั้นไม่ได้. เราต้องปฎิบัติเจาะลึกลงไปภายใต้รุปนามโดยอานาปานสตินี้แหล่ะ


ธรรมชาติ มีสภาพอย่างนั้นของมันอยู่เองแล้ว ปัญหาอยู่แค่ว่า เรารู้ความเป็นอย่างนั้นของมันหรือไม่หรือยัง ถ้ายังก็คงต้องเจาะต้องไชต้องปฏิบัติต่อไป ถ้ารู้ตามที่เป็นแล้วจบเลย พอเข้าใจที่พูดมั้ย

คือถ้ายังเทียวเจาะตรงนั้น ไชตรงนี้ ดับตรงนั่น จุดตรงนี่ พล่านไป แสดงว่ากำลังปรุงแต่งความคิด เพื่อต้องการจะให้ธรรมชาติมันเป็นไปตามความต้องการของเราแล. :b32:
กรัชกายตราบใดท่านยังไม่เข้าถึงความละเอียดที่สุดท่านก็รุ้แบบเท่าที่รุ้นั้นแหล่ะ. อยุ่ช่วยพระองค์โปรดสัตว์อีกหลากัปล์เถอะ

ไม่เป็นไรเด่วคุณน้องอยู่ช่วยพี่กรัชกายอีกแรง :b32: 555 :b13:
http://www.youtube.com/watch?v=4-gLdIO5G-Q :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ต.ค. 2013, 12:17 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

ถ้าเราเข้าถึงการตัดขาดหรือการเชื่มต่อของรุปกับนาม(อายตะภายใน กับอาตนะภายนอกได้. ดุเหมือนเราจะอยุ่ได้ด้วยความคงทนถาวรแถบไม่รุ้ถึงเรื่องราวของความเป็นจริงเลยว่า มันเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไป. เราอาจจะเคยเรียนรุ้มาบ้างว่าทุกสิ่งเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไปและเราก็ไตร่ตรองดูเอ้อ! มันก็น่าจะยอมรับความเป็นจริงตามนั้นได้ ความจริงที่รับรุ้มานั้นมันก็เป้นความจริงอยุ่แต่มัน็เป้นความจริงแค่ขอบเขตของการรับฟัง(สุตตะ)และความจริงขั้นไตร่ตรองหาเหตุผลมารองรับ(จินตะ)ความจริงนั้นยังไม่ได้เกิดเป็นรุปธรรมจนเข้าใจในความจริงอย่างถุกต้องตามความจริงที่มันเป้นอยุ่. ความจริงนี้เรียกว่าภาวนามยปัญญา. ส่วนที่ท่านบรรยายมานั้นมันเป็นการแยกแยะตามเหตุผลของความจริงของความหมายแห่งบัญญัติที่ใช้เรียกสิ่งนั้นๆเป็นสุตตะและจินตะยังไม่ใช่การภาวนา. เป้นสิ่งที่ต้องศึกษาทำความเข้าใจขาดมิได้ แตบนเส้นทางของการดับกิเลสเราจะหยุดอยุ่เพียงแค่นั้นไม่ได้. เราต้องปฎิบัติเจาะลึกลงไปภายใต้รุปนามโดยอานาปานสตินี้แหล่ะ


ธรรมชาติ มีสภาพอย่างนั้นของมันอยู่เองแล้ว ปัญหาอยู่แค่ว่า เรารู้ความเป็นอย่างนั้นของมันหรือไม่หรือยัง ถ้ายังก็คงต้องเจาะต้องไชต้องปฏิบัติต่อไป ถ้ารู้ตามที่เป็นแล้วจบเลย พอเข้าใจที่พูดมั้ย

คือถ้ายังเทียวเจาะตรงนั้น ไชตรงนี้ ดับตรงนั่น จุดตรงนี่ พล่านไป แสดงว่ากำลังปรุงแต่งความคิด เพื่อต้องการจะให้ธรรมชาติมันเป็นไปตามความต้องการของเราแล. :b32:



กรัชกายตราบใดท่านยังไม่เข้าถึงความละเอียดที่สุดท่านก็รุ้แบบเท่าที่รุ้นั้นแหล่ะ. อยุ่ช่วยพระองค์โปรดสัตว์อีกหลากัปล์เถอะ


อเมสซิ่งจะรีบไปไหนครับ คิกๆๆ

แล้วความละเอียดที่สุดได้แก่ อะไรครับ พูดค้างๆคาๆ เหมือนคนฉี่ไม่สุด :b32: มันทรมานนะครับ เอาสุดๆไปเลยไม่ต้องกั๊กต้องโต๊ดแล้ว แทงตรงๆไปเลย ละเอียดละออ ได้แก่ อะไร ชัดๆ :b36:

ความดับไปของสังขารทั้งหลาย


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ต.ค. 2013, 12:25 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


nongkong เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

ถ้าเราเข้าถึงการตัดขาดหรือการเชื่มต่อของรุปกับนาม(อายตะภายใน กับอาตนะภายนอกได้. ดุเหมือนเราจะอยุ่ได้ด้วยความคงทนถาวรแถบไม่รุ้ถึงเรื่องราวของความเป็นจริงเลยว่า มันเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไป. เราอาจจะเคยเรียนรุ้มาบ้างว่าทุกสิ่งเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไปและเราก็ไตร่ตรองดูเอ้อ! มันก็น่าจะยอมรับความเป็นจริงตามนั้นได้ ความจริงที่รับรุ้มานั้นมันก็เป้นความจริงอยุ่แต่มัน็เป้นความจริงแค่ขอบเขตของการรับฟัง(สุตตะ)และความจริงขั้นไตร่ตรองหาเหตุผลมารองรับ(จินตะ)ความจริงนั้นยังไม่ได้เกิดเป็นรุปธรรมจนเข้าใจในความจริงอย่างถุกต้องตามความจริงที่มันเป้นอยุ่. ความจริงนี้เรียกว่าภาวนามยปัญญา. ส่วนที่ท่านบรรยายมานั้นมันเป็นการแยกแยะตามเหตุผลของความจริงของความหมายแห่งบัญญัติที่ใช้เรียกสิ่งนั้นๆเป็นสุตตะและจินตะยังไม่ใช่การภาวนา. เป้นสิ่งที่ต้องศึกษาทำความเข้าใจขาดมิได้ แตบนเส้นทางของการดับกิเลสเราจะหยุดอยุ่เพียงแค่นั้นไม่ได้. เราต้องปฎิบัติเจาะลึกลงไปภายใต้รุปนามโดยอานาปานสตินี้แหล่ะ


ธรรมชาติ มีสภาพอย่างนั้นของมันอยู่เองแล้ว ปัญหาอยู่แค่ว่า เรารู้ความเป็นอย่างนั้นของมันหรือไม่หรือยัง ถ้ายังก็คงต้องเจาะต้องไชต้องปฏิบัติต่อไป ถ้ารู้ตามที่เป็นแล้วจบเลย พอเข้าใจที่พูดมั้ย

คือถ้ายังเทียวเจาะตรงนั้น ไชตรงนี้ ดับตรงนั่น จุดตรงนี่ พล่านไป แสดงว่ากำลังปรุงแต่งความคิด เพื่อต้องการจะให้ธรรมชาติมันเป็นไปตามความต้องการของเราแล. :b32:
กรัชกายตราบใดท่านยังไม่เข้าถึงความละเอียดที่สุดท่านก็รุ้แบบเท่าที่รุ้นั้นแหล่ะ. อยุ่ช่วยพระองค์โปรดสัตว์อีกหลากัปล์เถอะ

ไม่เป็นไรเด่วคุณน้องอยู่ช่วยพี่กรัชกายอีกแรง :b32: 555 :b13:
http://www.youtube.com/watch?v=4-gLdIO5G-Q :b13:
เพลงคุณน้องแปลว่าอะไร


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ต.ค. 2013, 12:35 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


nongkong เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

ถ้าเราเข้าถึงการตัดขาดหรือการเชื่มต่อของรุปกับนาม(อายตะภายใน กับอาตนะภายนอกได้. ดุเหมือนเราจะอยุ่ได้ด้วยความคงทนถาวรแถบไม่รุ้ถึงเรื่องราวของความเป็นจริงเลยว่า มันเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไป. เราอาจจะเคยเรียนรุ้มาบ้างว่าทุกสิ่งเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไปและเราก็ไตร่ตรองดูเอ้อ! มันก็น่าจะยอมรับความเป็นจริงตามนั้นได้ ความจริงที่รับรุ้มานั้นมันก็เป้นความจริงอยุ่แต่มัน็เป้นความจริงแค่ขอบเขตของการรับฟัง(สุตตะ)และความจริงขั้นไตร่ตรองหาเหตุผลมารองรับ(จินตะ)ความจริงนั้นยังไม่ได้เกิดเป็นรุปธรรมจนเข้าใจในความจริงอย่างถุกต้องตามความจริงที่มันเป้นอยุ่. ความจริงนี้เรียกว่าภาวนามยปัญญา. ส่วนที่ท่านบรรยายมานั้นมันเป็นการแยกแยะตามเหตุผลของความจริงของความหมายแห่งบัญญัติที่ใช้เรียกสิ่งนั้นๆเป็นสุตตะและจินตะยังไม่ใช่การภาวนา. เป้นสิ่งที่ต้องศึกษาทำความเข้าใจขาดมิได้ แตบนเส้นทางของการดับกิเลสเราจะหยุดอยุ่เพียงแค่นั้นไม่ได้. เราต้องปฎิบัติเจาะลึกลงไปภายใต้รุปนามโดยอานาปานสตินี้แหล่ะ


ธรรมชาติ มีสภาพอย่างนั้นของมันอยู่เองแล้ว ปัญหาอยู่แค่ว่า เรารู้ความเป็นอย่างนั้นของมันหรือไม่หรือยัง ถ้ายังก็คงต้องเจาะต้องไชต้องปฏิบัติต่อไป ถ้ารู้ตามที่เป็นแล้วจบเลย พอเข้าใจที่พูดมั้ย

คือถ้ายังเทียวเจาะตรงนั้น ไชตรงนี้ ดับตรงนั่น จุดตรงนี่ พล่านไป แสดงว่ากำลังปรุงแต่งความคิด เพื่อต้องการจะให้ธรรมชาติมันเป็นไปตามความต้องการของเราแล. :b32:
กรัชกายตราบใดท่านยังไม่เข้าถึงความละเอียดที่สุดท่านก็รุ้แบบเท่าที่รุ้นั้นแหล่ะ. อยุ่ช่วยพระองค์โปรดสัตว์อีกหลากัปล์เถอะ

ไม่เป็นไรเด่วคุณน้องอยู่ช่วยพี่กรัชกายอีกแรง :b32: 555 :b13:
http://www.youtube.com/watch?v=4-gLdIO5G-Q :b13:
คุณน้องฟังเพลงอมตะที่สุดเท่าที่จะเคยมี
เป็นเพลงที่ดังมากที่สุด นักร้องระดับโลกทุกคนจะต้องร้องเพลงนี้ เบซาเม มูโช (สเปน: Bésame Mucho แปลว่า "จูบฉันซิ") เป็นเพลงรักภาษาสเปน แต่งโดยคอนซูเอโล เวลาซเควซ นักแต่งเพลงชาวเม็กซิโก เมื่อปี ค.ศ. 1940 เป็นเพลงที่สร้างชื่อเสียงให้กับเธอ และถูกขับร้องเป็นภาษาต่างๆ หลายภาษา
เวลาซเควซแต่งเพลงนี้เมื่ออายุ 24 ปี เนื่องจากเธอเกิด ค.ศ. 1916 แต่เธอมักระบุว่าเกิดในปี ค.ศ. 1924 และมีอายุเพียง 15 ปีในขณะแต่งเพลงนี้ [1] และแต่งคำร้องเพลงนี้ทั้งที่ยังเป็นเด็กสาวไร้เดียงสา ไม่เคยจูบชายใดมาก่อน [2]
เบซาเม มูโช ฉบับภาษาอังกฤษ แต่งคำร้องโดย ซันนี สกายลาร์ ในปี ค.ศ. 1944 [3] ถูกขับร้องโดยนักร้องที่มีชื่อเสียงหลายคน เช่น เดอะบีตเทิลส์ แนท คิง โคล ดีน มาร์ติน แฟรงก์ ซินาตรา เอลวิส เพรสลีย์ อานเดรอา โบเชลลี

เถิดบรรจงจุมพิตอีกนิดหน่อย
ก่อนค่ำคืนเคลื่อนคล้อยค่อยเลือนหาย
จุมพิตเธอที่รักฝากทักทาย
หวั่นเสียเธอแทบตายวุ่นวายใจ
ตามองตาแล้วกอดออดอ้อนซึ้ง
ความคิดถึงผูกพันให้หวั่นไหว
หากวันพรุ่งพลัดพรากจากเธอไกล
ฉันคงไร้ความหมายตายทั้งเป็น

ขับร้องโดย อานเดรอา โบเชลลี (Andrea Bocelli) เกิดเมื่อวันที่ 22 กันยายน 1958 เป็นที่รู้จักในฐานะนักร้องอิตาลี เขาเป็นทั้งนักร้องเสียงสูงโอเปร่า และแนวเพลงคลาสสิก เขามีผลงานเพลง 6 เพลงโอเปร่า ได้แก่ La Bohème, Il Trovatore, Werther, Pagliacci, Cavalleria Rusticana และ Tosca นอกจากนี้ยังมีผลงานอัลบั้มเพลงคลาสสิกและป๊อปอีกด้วย มียอดขายกว่า 55 ล้านอัลบั้มทั่วโลก อานเดรอามีปัญหาทางสายตาตั้งแต่อายุ 12 เมื่อเกิดอุบัติเหตุขณะเล่นฟุตบอล Besame Mucho
http://m.youtube.com/watch?v=gPRESlT4Cc ... PRESlT4Ccg


แก้ไขล่าสุดโดย amazing เมื่อ 12 ต.ค. 2013, 13:18, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 12 ต.ค. 2013, 13:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
nongkong เขียน:
amazing เขียน:
กรัชกาย เขียน:
amazing เขียน:

ถ้าเราเข้าถึงการตัดขาดหรือการเชื่มต่อของรุปกับนาม(อายตะภายใน กับอาตนะภายนอกได้. ดุเหมือนเราจะอยุ่ได้ด้วยความคงทนถาวรแถบไม่รุ้ถึงเรื่องราวของความเป็นจริงเลยว่า มันเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไป. เราอาจจะเคยเรียนรุ้มาบ้างว่าทุกสิ่งเกิดขึ้นตั้งอยุ่ดับไปและเราก็ไตร่ตรองดูเอ้อ! มันก็น่าจะยอมรับความเป็นจริงตามนั้นได้ ความจริงที่รับรุ้มานั้นมันก็เป้นความจริงอยุ่แต่มัน็เป้นความจริงแค่ขอบเขตของการรับฟัง(สุตตะ)และความจริงขั้นไตร่ตรองหาเหตุผลมารองรับ(จินตะ)ความจริงนั้นยังไม่ได้เกิดเป็นรุปธรรมจนเข้าใจในความจริงอย่างถุกต้องตามความจริงที่มันเป้นอยุ่. ความจริงนี้เรียกว่าภาวนามยปัญญา. ส่วนที่ท่านบรรยายมานั้นมันเป็นการแยกแยะตามเหตุผลของความจริงของความหมายแห่งบัญญัติที่ใช้เรียกสิ่งนั้นๆเป็นสุตตะและจินตะยังไม่ใช่การภาวนา. เป้นสิ่งที่ต้องศึกษาทำความเข้าใจขาดมิได้ แตบนเส้นทางของการดับกิเลสเราจะหยุดอยุ่เพียงแค่นั้นไม่ได้. เราต้องปฎิบัติเจาะลึกลงไปภายใต้รุปนามโดยอานาปานสตินี้แหล่ะ


ธรรมชาติ มีสภาพอย่างนั้นของมันอยู่เองแล้ว ปัญหาอยู่แค่ว่า เรารู้ความเป็นอย่างนั้นของมันหรือไม่หรือยัง ถ้ายังก็คงต้องเจาะต้องไชต้องปฏิบัติต่อไป ถ้ารู้ตามที่เป็นแล้วจบเลย พอเข้าใจที่พูดมั้ย

คือถ้ายังเทียวเจาะตรงนั้น ไชตรงนี้ ดับตรงนั่น จุดตรงนี่ พล่านไป แสดงว่ากำลังปรุงแต่งความคิด เพื่อต้องการจะให้ธรรมชาติมันเป็นไปตามความต้องการของเราแล. :b32:
กรัชกายตราบใดท่านยังไม่เข้าถึงความละเอียดที่สุดท่านก็รุ้แบบเท่าที่รุ้นั้นแหล่ะ. อยุ่ช่วยพระองค์โปรดสัตว์อีกหลากัปล์เถอะ

ไม่เป็นไรเด่วคุณน้องอยู่ช่วยพี่กรัชกายอีกแรง :b32: 555 :b13:
http://www.youtube.com/watch?v=4-gLdIO5G-Q :b13:
คุณน้องฟังเพลงอมตะที่สุดเท่าที่จะเคยมี
เป็นเพลงที่ดังมากที่สุด นักร้องระดับโลกทุกคนจะต้องร้องเพลงนี้ เบซาเม มูโช (สเปน: Bésame Mucho แปลว่า "จูบฉันซิ") เป็นเพลงรักภาษาสเปน แต่งโดยคอนซูเอโล เวลาซเควซ นักแต่งเพลงชาวเม็กซิโก เมื่อปี ค.ศ. 1940 เป็นเพลงที่สร้างชื่อเสียงให้กับเธอ และถูกขับร้องเป็นภาษาต่างๆ หลายภาษา
เวลาซเควซแต่งเพลงนี้เมื่ออายุ 24 ปี เนื่องจากเธอเกิด ค.ศ. 1916 แต่เธอมักระบุว่าเกิดในปี ค.ศ. 1924 และมีอายุเพียง 15 ปีในขณะแต่งเพลงนี้ [1] และแต่งคำร้องเพลงนี้ทั้งที่ยังเป็นเด็กสาวไร้เดียงสา ไม่เคยจูบชายใดมาก่อน [2]
เบซาเม มูโช ฉบับภาษาอังกฤษ แต่งคำร้องโดย ซันนี สกายลาร์ ในปี ค.ศ. 1944 [3] ถูกขับร้องโดยนักร้องที่มีชื่อเสียงหลายคน เช่น เดอะบีตเทิลส์ แนท คิง โคล ดีน มาร์ติน แฟรงก์ ซินาตรา เอลวิส เพรสลีย์ อานเดรอา โบเชลลี

เถิดบรรจงจุมพิตอีกนิดหน่อย
ก่อนค่ำคืนเคลื่อนคล้อยค่อยเลือนหาย
จุมพิตเธอที่รักฝากทักทาย
หวั่นเสียเธอแทบตายวุ่นวายใจ
ตามองตาแล้วกอดออดอ้อนซึ้ง
ความคิดถึงผูกพันให้หวั่นไหว
หากวันพรุ่งพลัดพรากจากเธอไกล
ฉันคงไร้ความหมายตายทั้งเป็น

ขับร้องโดย อานเดรอา โบเชลลี (Andrea Bocelli) เกิดเมื่อวันที่ 22 กันยายน 1958 เป็นที่รู้จักในฐานะนักร้องอิตาลี เขาเป็นทั้งนักร้องเสียงสูงโอเปร่า และแนวเพลงคลาสสิก เขามีผลงานเพลง 6 เพลงโอเปร่า ได้แก่ La Bohème, Il Trovatore, Werther, Pagliacci, Cavalleria Rusticana และ Tosca นอกจากนี้ยังมีผลงานอัลบั้มเพลงคลาสสิกและป๊อปอีกด้วย มียอดขายกว่า 55 ล้านอัลบั้มทั่วโลก อานเดรอามีปัญหาทางสายตาตั้งแต่อายุ 12 เมื่อเกิดอุบัติเหตุขณะเล่นฟุตบอล

Andrea Bocelli - Besame Mucho (2006) http://m.youtube.com/watch?v=gPRESlT4Cc ... PRESlT4Ccg

แล้วงัย


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 129 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร