วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 10:11  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กระทู้นี้ถูกล็อก คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความ หรือ ตอบกลับในกระทู้นี้  [ 64 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 18:24 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


nongkong เขียน:
amazing เขียน:
เห็นแว๊บๆไปไหนอ่ะ. ที่จริงเรื่องแบบนี้นะไม่น่าอายหรอก จะหมดหดหายหรือจะกระหน่ำไม่เว้นก็ไม่ผิดผัวเมียกันจะเป็นอะไร พูดผิดไปก็พูดใหม่ได้ของแบบนี้มันอดกันได้ง่ายซะเมื่อไร เหมือนเคยหลงกินเจอยู่นานพอกลับมากินปรกติรู้อย่างนี้กินซะตั้งนานแล้วอิอิ

ใครบอกว่าคุณน้องเห็นเรื่องพวกนี้มันน่าอาย ถ้าคุณน้องอายคุณน้องจะกล้าถามพี่วลัยพรหรอ และคุณน้องก็ไม่คิดว่ามันจะดีหรือมันจะชั่วตรงไหน ก็เพราะพี่วลัยพรเค้าเป็นคนสอนคุณน้องเองว่า
ในกรณีที่มีทิฏฐิแบบนี้

กูทำชั่วก็ปล่อยวางกูทำดีก็ปล่อยวาง กูไม่ต้องยึดอะไรเลยทั้งความดีความชั่ว
ทำชั่วก็ปล่อยทำดีก็ปล่อย จิตใจโล่งเบาสบาย

จะคล้ายๆกับคำกล่าวนี้

"การกระทำทุกอย่าง ล้วนเกิดจากการปรุงแต่งของจิต
ไม่มีผู้กระทำ เป็นเรื่องของจิต

พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล
กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ
ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ;

ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์
หรือการกระทำของบุคคลอื่นใด ที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์.

นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา
ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ
มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตา ซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น"
อึมตามเหตุปัจจัยจริงๆน้องkongเหมือนแมสซิ่งคิดถึงคุณน้องอยู่นี่นะ


โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 18:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5976

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


nongkong เขียน:
amazing เขียน:
เห็นแว๊บๆไปไหนอ่ะ. ที่จริงเรื่องแบบนี้นะไม่น่าอายหรอก จะหมดหดหายหรือจะกระหน่ำไม่เว้นก็ไม่ผิดผัวเมียกันจะเป็นอะไร พูดผิดไปก็พูดใหม่ได้ของแบบนี้มันอดกันได้ง่ายซะเมื่อไร เหมือนเคยหลงกินเจอยู่นานพอกลับมากินปรกติรู้อย่างนี้กินซะตั้งนานแล้วอิอิ

ใครบอกว่าคุณน้องเห็นเรื่องพวกนี้มันน่าอาย ถ้าคุณน้องอายคุณน้องจะกล้าถามพี่วลัยพรหรอ และคุณน้องก็ไม่คิดว่ามันจะดีหรือมันจะชั่วตรงไหน ก็เพราะพี่วลัยพรเค้าเป็นคนสอนคุณน้องเองว่า
ในกรณีที่มีทิฏฐิแบบนี้

กูทำชั่วก็ปล่อยวางกูทำดีก็ปล่อยวาง กูไม่ต้องยึดอะไรเลยทั้งความดีความชั่ว
ทำชั่วก็ปล่อยทำดีก็ปล่อย จิตใจโล่งเบาสบาย

จะคล้ายๆกับคำกล่าวนี้

"การกระทำทุกอย่าง ล้วนเกิดจากการปรุงแต่งของจิต
ไม่มีผู้กระทำ เป็นเรื่องของจิต

พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล
กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ
ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ;

ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์
หรือการกระทำของบุคคลอื่นใด ที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์.

นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา
ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ
มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตา ซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น"





คุณน้องควรนำมาลงในครบนะคะ ที่พี่เคยนำมาโพสไว้น่ะค่ะ

พี่นำมาแสดงไว้ชัดแล้วว่า นี่เป็นลักษณะของมิจฉาทิฏฐิ
คือ กล่าวโทษนอกตัว ไม่รู้จะโทษใคร ก็เลยโยนไปให้จิตแทน

ซึ่งพระพุทธเจ้า ได้ทรงมีพระธรรมคำสอน แสดงไว้แล้ว

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 18:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
nongkong เขียน:
amazing เขียน:
เห็นแว๊บๆไปไหนอ่ะ. ที่จริงเรื่องแบบนี้นะไม่น่าอายหรอก จะหมดหดหายหรือจะกระหน่ำไม่เว้นก็ไม่ผิดผัวเมียกันจะเป็นอะไร พูดผิดไปก็พูดใหม่ได้ของแบบนี้มันอดกันได้ง่ายซะเมื่อไร เหมือนเคยหลงกินเจอยู่นานพอกลับมากินปรกติรู้อย่างนี้กินซะตั้งนานแล้วอิอิ

ใครบอกว่าคุณน้องเห็นเรื่องพวกนี้มันน่าอาย ถ้าคุณน้องอายคุณน้องจะกล้าถามพี่วลัยพรหรอ และคุณน้องก็ไม่คิดว่ามันจะดีหรือมันจะชั่วตรงไหน ก็เพราะพี่วลัยพรเค้าเป็นคนสอนคุณน้องเองว่า
ในกรณีที่มีทิฏฐิแบบนี้

กูทำชั่วก็ปล่อยวางกูทำดีก็ปล่อยวาง กูไม่ต้องยึดอะไรเลยทั้งความดีความชั่ว
ทำชั่วก็ปล่อยทำดีก็ปล่อย จิตใจโล่งเบาสบาย

จะคล้ายๆกับคำกล่าวนี้

"การกระทำทุกอย่าง ล้วนเกิดจากการปรุงแต่งของจิต
ไม่มีผู้กระทำ เป็นเรื่องของจิต

พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล
กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ
ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ;

ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์
หรือการกระทำของบุคคลอื่นใด ที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์.

นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา
ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ
มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตา ซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น"
อึมตามเหตุปัจจัยจริงๆน้องkongเหมือนแมสซิ่งคิดถึงคุณน้องอยู่นี่นะ

จ้าแมสซิ่ง คุณน้องก็คิดถึงแมสซิ่งจ้า :b45:


โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 18:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 ก.พ. 2012, 12:27
โพสต์: 2372

แนวปฏิบัติ: ปฏิจจสมุปบาท และกรรมฐาน
งานอดิเรก: สวดมนต์รภาวนา
อายุ: 27

 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
nongkong เขียน:
amazing เขียน:
เห็นแว๊บๆไปไหนอ่ะ. ที่จริงเรื่องแบบนี้นะไม่น่าอายหรอก จะหมดหดหายหรือจะกระหน่ำไม่เว้นก็ไม่ผิดผัวเมียกันจะเป็นอะไร พูดผิดไปก็พูดใหม่ได้ของแบบนี้มันอดกันได้ง่ายซะเมื่อไร เหมือนเคยหลงกินเจอยู่นานพอกลับมากินปรกติรู้อย่างนี้กินซะตั้งนานแล้วอิอิ

ใครบอกว่าคุณน้องเห็นเรื่องพวกนี้มันน่าอาย ถ้าคุณน้องอายคุณน้องจะกล้าถามพี่วลัยพรหรอ และคุณน้องก็ไม่คิดว่ามันจะดีหรือมันจะชั่วตรงไหน ก็เพราะพี่วลัยพรเค้าเป็นคนสอนคุณน้องเองว่า
ในกรณีที่มีทิฏฐิแบบนี้

กูทำชั่วก็ปล่อยวางกูทำดีก็ปล่อยวาง กูไม่ต้องยึดอะไรเลยทั้งความดีความชั่ว
ทำชั่วก็ปล่อยทำดีก็ปล่อย จิตใจโล่งเบาสบาย

จะคล้ายๆกับคำกล่าวนี้

"การกระทำทุกอย่าง ล้วนเกิดจากการปรุงแต่งของจิต
ไม่มีผู้กระทำ เป็นเรื่องของจิต

พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล
กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ
ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ;

ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์
หรือการกระทำของบุคคลอื่นใด ที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์.

นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา
ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ
มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตา ซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น"





คุณน้องควรนำมาลงในครบนะคะ ที่พี่เคยนำมาโพสไว้น่ะค่ะ

พี่นำมาแสดงไว้ชัดแล้วว่า นี่เป็นลักษณะของมิจฉาทิฏฐิ
คือ กล่าวโทษนอกตัว ไม่รู้จะโทษใคร ก็เลยโยนไปให้จิตแทน

ซึ่งพระพุทธเจ้า ได้ทรงมีพระธรรมคำสอน แสดงไว้แล้ว

คุณน้องประชดอยู่ไม่เข้าใจหรอ :b32: ใครจะไปทำได้ง่ายยอ่างงั้น 555+


โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 18:29 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5976

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


nongkong เขียน:
โอเค หายสงสัยแระ สรุปว่าพี่กับเจ้านายก็อยู่กินกันอย่างกัลยามิตรไปเคยมีเพศสัมพันธ์กันเลยใช่ป่าวเจ้าค่ะ แสดงว่ายังถือศีลพรหมจรรย์บริบูรณ์อยู่ :b45:




ไม่ได้ติด ไม่ได้ยึดถือเรื่อง ศีลพรหมจรรย์
ถ้าคิดทำแบบนั้น เป็นสีลลัพตปรามาสค่ะ

อย่าไปยึดติดกับคำเรียกเลยค่ะ
เพราะเป็นเรื่อง เหตุปัจจัยของแต่ละคน

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 18:30 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


nongkong เขียน:
amazing เขียน:
nongkong เขียน:
amazing เขียน:
เห็นแว๊บๆไปไหนอ่ะ. ที่จริงเรื่องแบบนี้นะไม่น่าอายหรอก จะหมดหดหายหรือจะกระหน่ำไม่เว้นก็ไม่ผิดผัวเมียกันจะเป็นอะไร พูดผิดไปก็พูดใหม่ได้ของแบบนี้มันอดกันได้ง่ายซะเมื่อไร เหมือนเคยหลงกินเจอยู่นานพอกลับมากินปรกติรู้อย่างนี้กินซะตั้งนานแล้วอิอิ

ใครบอกว่าคุณน้องเห็นเรื่องพวกนี้มันน่าอาย ถ้าคุณน้องอายคุณน้องจะกล้าถามพี่วลัยพรหรอ และคุณน้องก็ไม่คิดว่ามันจะดีหรือมันจะชั่วตรงไหน ก็เพราะพี่วลัยพรเค้าเป็นคนสอนคุณน้องเองว่า
ในกรณีที่มีทิฏฐิแบบนี้

กูทำชั่วก็ปล่อยวางกูทำดีก็ปล่อยวาง กูไม่ต้องยึดอะไรเลยทั้งความดีความชั่ว
ทำชั่วก็ปล่อยทำดีก็ปล่อย จิตใจโล่งเบาสบาย

จะคล้ายๆกับคำกล่าวนี้

"การกระทำทุกอย่าง ล้วนเกิดจากการปรุงแต่งของจิต
ไม่มีผู้กระทำ เป็นเรื่องของจิต

พุทธศาสนามิได้ถือว่าจิตเป็นบุคคล
กระแสการปรุงแต่งทางจิตเป็นไปได้เองตามธรรมชาติ
ผลที่เกิดขึ้นเป็นความทุกข์จึงมิใช่การกระทำของบุคคลใด ;

ดังนั้น จึงมิใช่การกระทำของบุคคลผู้รู้สึกเป็นทุกข์
หรือการกระทำของบุคคลอื่นใด ที่ทำให้บุคคลอื่นเป็นทุกข์.

นี้เป็นหลักสำคัญของพุทธศาสนาที่สอนเรื่องอนัตตา
ไม่มีสัตว์บุคคลที่เป็นผู้กระทำหรือถูกกระทำ
มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตา ซึ่งจิตรู้สึกได้เท่านั้น"
อึมตามเหตุปัจจัยจริงๆน้องkongเหมือนแมสซิ่งคิดถึงคุณน้องอยู่นี่นะ

จ้าแมสซิ่ง คุณน้องก็คิดถึงแมสซิ่งจ้า :b45:
ยิ้ม


โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 20:59 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


คนธรรมดาๆ เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
แม้อริยบุคคลขั้นต้นคือ โสดาบัน อาการยกตนข่มท่าน พูดดูหมิ่นผู้อื่นซ้ำๆ พรำเพรื่อ ..เห็นผู้เคยต้องปฏิฆะไม่ได้. จะแล่นไปแขวะขบกัดทันที่....ทำไมอาการอย่างนี้จึงไม่มีแก่ท่าน??


นานๆทีคุณกบจะเริ่มประเด็น ผมอยากร่วมด้วย ขอตอบว่า

เพราะท่านมีศีลที่พัฒนาแล้ว
เพราะสติท่านพัฒนาแล้ว
เพราะปกติท่านเหล่านี้มีช่วงหยุดคิดก่อนจะทำอะไร
เพราะมันเหนื่อยเปล่า
เพราะมันไม่คุ้ม

เพราะท่านเหล่านั้นคิดว่าจริงๆตัวเองก็ไม่ได้ต่างจากคนทั่วไปเท่าไร อารมณ์เหล่านั้นเกิดกับท่านเองเหมือนกัน ต่างกันแค่ท่านควบคุมมันได้แล้วเท่านั้นเอง

ถูกบ้างหรือเปล่าน๊า

:b1:


เอาอะไรไปถูก..ไปผิด..ละครับ.. :b12:

ผมคิดตามแล้วนะ...
มันก้ใช่นะ....ที่ศีลพัตนาแล้ว...ที่พัฒนาแล้วก็เพราะสติพัฒนา
ที่สติพัฒนาแล้ว...ก็เพราะการตั้งใจไม่เอาโลก...ใช้สติแยกแยะว่ากำงลังไปเอาโลกอยู่หรือไม่....นี้..ก็เพราะมีสัมมาทิฏฐิ....

หยุดคิดก่อนทำอะไร....แต่คงหยุดไม่นาน....สติมันเร็ว

ส่วนที่ว่า...เพราะมันเหนื่ยเปล่า..เพราะมันไม่คุ้ม...อันนี้ผมคิดไม่ทัน...

ว่าง ๆ. มาเพิ่มเติมอีก..ก็ดีนะครับ...
:b8:


โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 21:05 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


amazing เขียน:
และที่สุดแล้วไม่มีใครรู้หรอกว่าเจตนาจริงๆแล้วคืออะไร พูดแย่กันทักกันและจิ้มกันบ้างหรือเคืองกันก็เป็นไปได้ไม่ผิดปรกติ และที่ถามเห็นผู้อื่นมีปฎิฆะไม่ได้ จะแล่นแขวะขบกัดทันที ทำไมอาการแบบนี้จึงไม่มีแกท่าน ? กบรู้ได้ไงว่าไม่มีแก่ท่าน คำถามนี้เป็นคำถามที่ขบแขวะซะเอง เพราะกบไม่รู้หรอกที่จริงท่านจะมีหรือไม่มี กบเพียงต้องการกระทำบางอย่างเท่านั้น อิอิ


ใช่ครับ..อเมสซิ่ง..เป็นหนึ่งในแรงบันดาลใจ...ให้ผมตั้งคำถามแบบนี้...
:b16:


แก้ไขล่าสุดโดย กบนอกกะลา เมื่อ 18 ต.ค. 2013, 21:17, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง

โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 21:15 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 04 ธ.ค. 2012, 15:49
โพสต์: 932


 ข้อมูลส่วนตัว


กบนอกกะลา เขียน:
amazing เขียน:
และที่สุดแล้วไม่มีใครรู้หรอกว่าเจตนาจริงๆแล้วคืออะไร พูดแย่กันทักกันและจิ้มกันบ้างหรือเคืองกันก็เป็นไปได้ไม่ผิดปรกติ และที่ถามเห็นผู้อื่นมีปฎิฆะไม่ได้ จะแล่นแขวะขบกัดทันที ทำไมอาการแบบนี้จึงไม่มีแกท่าน ? กบรู้ได้ไงว่าไม่มีแก่ท่าน คำถามนี้เป็นคำถามที่ขบแขวะซะเอง เพราะกบไม่รู้หรอกที่จริงท่านจะมีหรือไม่มี กบเพียงต้องการกระทำบางอย่างเท่านั้น อิอิ


ใช่ครับ..อเมสซิ่ง..เป็นหนึ่งในแรงบันดาลใจ...ให้ผมตั้งคำถามแบบนี้...
:b11:
จงภูมิใจเถอะกบของดีคนชอบทดสอบ


โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 21:21 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


ปลีกวิเวก เขียน:
กบนอกกะลา เขียน:
แม้อริยบุคคลขั้นต้นคือ โสดาบัน อาการยกตนข่มท่าน พูดดูหมิ่นผู้อื่นซ้ำๆ พรำเพรื่อ ..เห็นผู้เคยต้องปฏิฆะไม่ได้. จะแล่นไปแขวะขบกัดทันที่....ทำไมอาการอย่างนี้จึงไม่มีแก่ท่าน??


tongue สวัสดีค่ะคุณกบ
เอามาฝากเป็นความรู้ค่ะ

คุณสมบัติของพระโสดาบัน
1.คุณสมบัติฝ่ายมี
1.1 ด้านศรัทธา เชื่อมั่นในความจริง ความดีงาม และกฎธรรมดาแห่งเหตุผล มั่นใจในปัญญาของมนุษย์ที่จะดับทุกข์หรือแก้ไขปัญหาได้ตามทางแห่งเหตุผล และเชื่อในสังคมที่ดีงามขอมนุษย์ซึ่งจะเจริญงอกงามขึ้นได้ตามแนวทางเช่นนั้น ความเชื่อมั่นนี้แสดงออกด้วยความเลื่อมใสอันหยั่งลงมั่นด้วยปัญญาในพระรัตนตรัย เป็นศรัทธาซึ่งแน่วแน่ มั่นคง ไม่มีทางผันแปร เพราะเกิดจากญาณคือความรู้ ความเข้าใจ
1.2 ด้านศีล มีความประพฤติทั้งทางกาย วาจา และการเลี้ยงชีพสุจริต เป็นที่พอใจของอริยชน มีศีลที่เป็นไทคือเป็นอิสระไม่เป็นทาสของตัณหา ประพฤติตรงตามหลักการ ตามความหมายที่แท้ เพื่อความดี ความงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความขัดเกลาลดกิเลส ความสงบใจ เป็นไปเพื่อสมาธิ โดยทั่วไปหมายถึงศีลห้า ที่ประพฤติอย่างถูกต้อง จัดเป็นขั้นที่บำเพ็ญศีลได้บริบูรณ์
1.3 ด้านสุตะ เป็นสุตวา อริยสาวก หรืออริยสาวกผู้มีสุตะ คือได้เรียนรู้อริยธรรม รู้จักอารยธรรม นับว่าเป็นผู้มีการศึกษา
1.4 ด้านจาคะ อยู่ครองเรือนด้วยใจที่ปราศจากความตระหนี่ ยินดีในการสละ การให้ การเฉลี่ยเจือจาน แบ่งปัน
1.5 ด้านปัญญา มีปัญญาอย่างเสขะ คือรู้ชัดในอริยสัจจ์ 4 มองเห็นปฏิจจสมุปบาท เข้าใจไตรลักษณ์ คือ อนิจจตา ทุกขตา และอนัตตตา เป็นอย่างดี จนสลัดมิจฉาทิฏฐิทั้งหลาย ในรูปแบบต่างๆ ได้สิ้นเชิง หมดความสงสัยในอริยสัจจ์ทั้ง 4 นั้น เรียกตามสำนวนธรรมว่าเป็นผู้รู้จักโลกแท้จริง
1.6 ด้านสังคม พระโสดาบันเป็นผู้ปฏิบัติตามหลักธรรมสำหรับสร้างความสามัคคีและเอกภาพของหมู่ชน ที่เรียกว่า “สาราณียธรรม 6” ดังนี้
-เมตตากายกรรม แสดงออกทางกายด้วยเมตตา ช่วยเหลือกันแสดงกิริยาสุภาพเคารพนับถือกัน
-เมตตาวจีกรรม แสดงออกทางวาจาด้วยเมตตา เช่นบอกแจ้งแนะนำตักเตือนด้วยความหวังดี กล่าววาจาสุภาพต่อกัน
-เมตตามโนกรรม คิดต่อกันด้วยเมตตา เช่นมองกันในแง่ดี คิดทำประโยชน์แก่กัน ยิ้มแย้มแจ่มใส
-สาธารณโภคี แบ่งปันลาภอันชอบธรรม เฉลี่ยเจือจานให้ได้มีส่วนร่วมทั่วกัน
-สีลสามัญญตา มีความประพฤติสุจริตเสมอกับผู้อื่น ไม่ทำตนให้เป็นที่น่ารังเกียจของหมู่
-ทิฏฐิสามัญญตา มีความเห็นชอบร่วมกับเพื่อนร่วมหมู่ ในอารยทฤษฏี ซึ่งนำไปสู่การกำจัดทุกข์
2.คุณสมบัติฝ่ายหมดหรือฝ่ายละ (แสดงเฉพาะที่สำคัญและน่าสนใจพิเศษ)
2.1 ละสังโยชน์หรือกิเลสที่ผูกมัดใจได้ 3 อย่าง
-สักกายทิฏฐิ ความเห็นผิดว่าเป็นตัวของตน ติดสมมติเหนียวแน่น ซึ่งทำให้เห็นแก่ตัวอย่างหยาบและเกิดความกระทบกระทั่ง มีทุกข์ได้แรงๆ
-วิจิกิจฉา ความสงสัยไม่แน่ใจต่างๆ เกี่ยวกับพระศาสดา พระธรรม พระสงฆ์ และสิกขาเป็นต้น ซึ่งทำให้จิตไม่น้อมดิ่งไปในทางที่จะระดมความเพียรมุ่งหน้าปฏิบัติให้เร่งรุดไปในมรรคา
-สีลัพพตปรามาส ความถือเขวเกี่ยวกับศีลพรต คือการถือปฏิบัติศีลและวัตร หรือกฏเกณฑ์ ระเบียบ วินัย ข้อปฏิบัติ ขนบธรรมเนียมต่างๆ ไม่บริสุทธิ์ตามหลักการตามความมุ่งหมาย ที่มุ่งเพื่อความดีงาม เช่น ความสงบเรียบร้อย และความเป็นบาทฐานของสมาธิเป็นต้น แต่ประพฤติด้วยตัณหาและทิฏฐิ เช่น หวังผลประโยชน์ตอบแทน หวังจะได้เป็นนั่นเป็นนี่เป็นต้น ตลอดจนประพฤติด้วยงมงายสักว่าทำตามๆ กันมา
2.2 ละมัจฉริยะ ความตระหนี่ ความใจคับแคบ หวงแหน คอยกีดกันผู้อื่นทั้ง 5 อย่างคือ
-อาวาสมัจฉริยะ หวงที่อยู่อาศัย หวงถิ่น
-กุลมัจฉริยะ หวงตระกูล หวงพวก หวงสำนัก หวงสายสัมพันธ์ เทียบกับที่พูดกันบัดนี้ว่าเล่นพวก
-ลาภมัจฉริยะ หวงลาภ หวงผลประโยชน์ คิดกีดกันไม่ให้คนอื่นได้
-วัณณมัจฉริยะ หวงกิตติคุณ หวงคำสรรเสริญ ไม่พอใจให้ใครมีอะไรดีมาแข่งตน ไม่พอใจให้ใครสวยงาม ได้ยินคำสรรเสริญคุณความดีของคนอื่นแล้วทนไม่ได้
-ธรรมมัจฉริยะ หวงธรรม หวงวิชาความรู้ หวงคุณพิเศษที่ได้บรรลุ กลัวคนอื่นจะรู้หรือประสบผลสำเร็จเทียมเท่าหรือเกินกว่าตน
2.3 ละอคติ คือ ทางความประพฤติที่ผิด หรือความลำเอียงได้ 4 อย่าง
-ฉันทาคติ ลำเอียงเพราะชอบ
-โทสาคติ ลำเอียดเพราะชัง
-โมหาคติ ลำเอียงเพราะหลงหรือเขลา
-ภยาคติ ลำเอียงเพราะกลัว
2.4 ละราคะ โทสะ โมหะ หรือ โลภ โกรธ หลง ขั้นหยาบหรือรุนแรงที่จะทำให้ถึงอบาย ไม่ทำกรรมชั่ว ขั้นร้ายแรงที่จะเป็นเหตุให้ไปอบาย
2.5 ระงับภัยเวร โทมนัสและทุกข์ทางใจต่างๆ ที่จะพึงเกิดจากการไม่ปฏิบัติตามหลักศีลห้า เป็นผู้พ้นจากอบายสิ้นเชิง ความทุกข์ส่วนใหญ่หมดสิ้นไปแล้ว ความทุกข์ที่ยังเหลืออยู่บ้าง เป็นเพียงเศษน้อยนิดที่นับเป็นส่วนไม่ได้

คัดลอกบางส่วนจากหนังสือ พุทธธรรม “ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน”
โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)


ขอบคุณครับ...ได้ความรู้เพิ่ม... :b8:


โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 21:33 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


วิริยะ เขียน:
....

ผู้บรรลุธรรม เปรียบได้กับ ผู้ที่พ้นโทษออกจากคุก มองเห็นโทษ
เห็นความผิดของตน ท่านย่อมไม่กระทำความผิดซ้ำอีก ..[/color]

:b1:


คือผู้มองเห็นโทษ ....อันนี้ลึกซึ่งนะ... Kiss
คนเราจะมองเห็นอะไรเป็นโทษ..อะไรไม่เป็นโทษ...ได้นี้...ต้องมีหลายๆอย่างมาประกอบกัน...

คล้ายๆกับคำนี้ว่า
"ปุถุชน...เห็นสิ่งไม่เป็นสาระ..ว่าเป็นสาระ....เห็นสิ่งเป็นสาระ....ว่าไม่เป็นสาระ...ย่อมจัดการผิด....มีผลเป็นทุกข์"
"อริยะ....เห็นสิ่งไม่เป็นสาระ...ว่าไม่เป็นสาระ...เห็นสิ่งเป็นสาระ...ว่าเป็นสาระ...ย่อมจัดการถูก...มีผลเป็นสุข"
:b17:


โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 23:08 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 5
สมาชิก ระดับ 5
ลงทะเบียนเมื่อ: 08 เม.ย. 2011, 01:57
โพสต์: 324

แนวปฏิบัติ: อริยสัจ4
อายุ: 27
ที่อยู่: USA

 ข้อมูลส่วนตัว


คุณกบ

เหนื่อยเปล่า เพราะผลไม้บางผลยังไม่พร้อมที่จะสุก จะทำยังไงก็ไม่มีทางสุก จึงเหนื่อยเปล่า

ไม่คุ้ม เพราะก่อนจะวิ่งไปขบ ไปแขวะใคร ใจตัวเองโดนขบไปก่อนแล้ว

ผมว่าคุณกบรู้อยู่แล้วล่ะ เราแค่ใช้คำต่างกันเท่านั้นเอง

.....................................................
ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นคือความจริง การฝืนความจริงทำให้เกิดทุกข์ การเห็นและยอมตามความจริงทำให้หายทุกข์

คนที่รู้ธรรมะ มักจะชอบเอาชนะผู้อื่น แต่คนเข้าใจธรรมะ มักจะเอาชนะใจตนเอง

สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ
เมื่อใดบุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า, ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา

อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา
เมื่อนั้น ย่อมเหนื่อยหน่ายในสิ่งที่เป็นทุกข์ ที่ตนหลง,
นั่นแหละเป็นทางแห่งพระนิพพานอันเป็นธรรมหมดจด

.....ติลักขณาทิคาถา.....


โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 23:17 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


:b13: :b13: :b13:


โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 23:34 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:

รู้ได้อย่างไรว่าท่านไม่มี โสดาบันละได้แค่สังโยชน์สาม
โสดาบันไม่มีสังโยชน๋สาม แต่ยังมีกิเลสตัวที่ทำให้ออกอาการ มากกว่าปุถุชนเสียอีก
กามคุณห้าเอ่ย ปฏิฆะเอย ที่สำคัญทิฐิมานะ
พวกนี้แหล่ะมันทำให้มีอาการแบบนั้น เมื่อก่อนเป็นปุถุชน
ยังมีสักกายทิฐิคอยบ่งการให้ ว่าฉันต้องเป็นดนดีในสายตาคนอื่น
และศีลพรตปรามาสอีก คอยกดข่มไว้ว่า ฉันต้องพูดจาอ่อนหวาน
ไม่งั้นเดียวศีลทะลุ ศีลฉีก :b32:


ความเห็นของผม...ว่า...แม้โสดาบันจะละกามราคะ..ปฏิฆะ..ยังไม่ได้...แต่ก็เบาบางลงแล้วละเมื่อเทียบกับปุถุชน
เช่นกามราคะ..มี....ก็มีอยู่ในศีลของตน..ฆราวาสศีล5 กามราคะก็มีกับเฉพาะคู่ครองของตน...เณร ศีล10. กามราคะก็มีได้กับที่ไม่ขัดในศีลของตนที่ถืออยู่....

ผมคิดว่า..อาการยกตนข่มท่าน..เป็นมานะหยาบ...ไม่มีในท่านเพราะ...สักกายทิฏฐิ
อาการแขวะ..ขบ..กัด...ซ้ำซากพร่ำเพรื่อ....ไม่มีในท่าน...เพราะท่านละสีลลัพตปรามาส...


โพสต์ เมื่อ: 18 ต.ค. 2013, 23:40 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 25 เม.ย. 2009, 02:43
โพสต์: 12232


 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
ความชั่วไม่ทำเสียเลยดีกว่า
เพราะความชั่วทำให้เดือดร้อนในภายหลัง

ส่วนความดีทำนั่นแลเป็นดี
เพราะทำแล้วไม่เดือดร้อนในภายหลัง


ท่านทั้งหลายจงคุ้มครองตนเหมือนปัจจันตนคร
ที่มนุษย์ทั้งหลายคุ้มครองไว้พร้อมทั้งภายในและภายนอก

ฉะนั้น ขณะอย่าล่วงท่านทั้งหลายไปเสีย
เพราะว่า ผู้ที่ล่วง ขณะ เสียแล้ว เป็นผู้ยัดเยียดกันในนรก ย่อมเศร้าโศก

สัตว์ทั้งหลายผู้ถือมั่นมิจฉาทิฐิ
ย่อมละอายเพราะวัตถุอันบุคคลไม่พึงละอาย
ย่อมไม่ละอายเพราะวัตถุอันบุคคลพึงละอาย
ย่อมไป สู่ทุคติ


สัตว์ทั้งหลายผู้ถือมั่นมิจฉาทิฐิ
ผู้มีปกติเห็นในสิ่งที่ไม่ควรกลัว ว่าควรกลัว
และมีปกติเห็นในสิ่งที่ควรกลัวว่า ไม่ควรกลัว
ย่อมไปสู่ทุคติ

สัตว์ทั้งหลายผู้ถือมั่นมิจฉาทิฐิ
มีปกติรู้ในสิ่งที่ไม่มีโทษว่ามีโทษ
และมีปกติเห็นในสิ่งที่มีโทษว่าไม่มีโทษ
ย่อมไปสู่ทุคติ


สัตว์ทั้งหลายผู้ถือมั่นสัมมาทิฐิ
รู้ธรรมที่มีโทษโดยความเป็นธรรมที่มีโทษ
และรู้ธรรมที่หาโทษมิได้ โดยความเป็นธรรมหาโทษมิได้
ย่อมไปสู่ สุคติฯ



http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.p ... 080&Z=1117




พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสว่า

ขึ้นชื่อว่าทุจริต แม้เพียงเล็กน้อยบุคคลไม่ควรทำ
ด้วยความสำคัญว่า “ชนพวกอื่นย่อมไม่รู้กรรมนี้ของเรา”

ส่วน สุจริตนั่นแหละ เมื่อคนอื่นแม้ไม่รู้ก็ควรทำ,

เพราะว่าขึ้นชื่อว่าทุจริต แม้บุคคลปกปิดทำ
ย่อมทำการเผาผลาญในภายหลัง,


ส่วนสุจริต
ย่อมยังความปราโมทย์อย่างเดียวให้เกิดขึ้น


ดังนี้แล้ว จึงตรัสพระคาถานี้ว่า:-

“กรรมชั่ว ไม่ทำเสียเลยดีกว่า,
เพราะว่า กรรมชั่ว ย่อมเผาผลาญในภายหลัง,


สาธุ.. :b8: :b8: :b8:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กระทู้นี้ถูกล็อก คุณไม่สามารถแก้ไขข้อความ หรือ ตอบกลับในกระทู้นี้  [ 64 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร