วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 10:27  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 134 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2013, 11:47 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


SOAMUSA เขียน:



จักขุทวาร - จักขุปสาท
โสตทวาร - โสตปสาท
ฆานทวาร - ฆานปสาท
ชิวหาทวาร - ชิวหาปสาท
กายทวาร - กายปสาท
มโนทวาร - ภวังคจิต เป็นวิปากจิต

ผัสสะเกิดนั้นมีการกระทบกัน 3 ตัวนี้ค่ะ ภวังคจิต ธรรมารมณ์ มโนวิญญาณ




รูปารมณ์ + จักขายตนะ + จักขุวิญญาณ (การประจวบกันทั้งสามสิ่งนี้เรียกว่า) + ผัสสะ

คุณโสมฯ เรียนตำราไหนมาครับ :b10:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2013, 11:58 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
SOAMUSA เขียน:
กรัชกาย เขียน:
SOAMUSA เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ความสัมพันธ์ที่มีชื่อในภาษาธรรมระหว่าง อายตนะ ๖ อารมณ์ ๖ และวิญญาณ ๖ ดังนี้

๑. จักขุ – ตา เป็นแดนรับรู้ รูป - รูป เกิดความรู้คือ จักขุวิญญาณ - เห็น

๒. โสต - หู --------------- สัททะ - เสียง ------------- โสตวิญญาณ - ไ้ด้ยิน

๓. ฆานะ - จมูก ----------- คันธะ - กลิ่น -------------- ฆานวิญญาณ – ได้กลิ่น

๔. ชิวหา - ลิ้น ------------- รส - รส ----------------- ชิวหาวิญญาณ - รู้รส

๕.กาย - กาย -------------- โผฏฐัพพะ - สิ่งต้องกาย ----------- กายวิญญาณ - รู้สิ่งต้องกาย

๖. มโน - ใจ --------------- ธรรมารมณ์ -เรื่องในใจ------------ มโนวิญญาณ - รู้เรื่องในใจ



อย่างไรก็ตาม แม้ว่า วิญญาณจะต้องอาศัยอายตนะและอารมณ์กระทบกันจึงจะเกิดขึ้นไ้ด้ ก็จริง แต่การที่อารมณ์เข้ามาปรากฏแก่อายตนะ ก็มิใช่จะทำให้วิญญาณเกิดขึ้นไ้ด้เสมอไป จำต้องมีความใส่ใจ ความกำหนดใจ หรือความใฝ่ใจประกอบอยู่ด้วย วิญญาณนั้นๆ จึงจะเกิดขึ้น



๖. มโน - ใจ --------------- ธรรมารมณ์ -เรื่องในใจ------------ มโนวิญญาณ - รู้เรื่องในใจ

ใจที่ทำสีแดงไว้ ใจตัวนี้ ช่วยอธิบายด้วยสิคะ


ใจในที่นี้ไม่ใช่หัวใจ เป็นจิตหรือใจ หรือมโน บางทีเรียกรวมกันว่าจิตใจ

จับคู่กันให้ดู


จักขุ - ตา
โสต -หู
ฆาน -จมูก
ชิวหา -ลิ้น
กาย -กาย
มโน -ใจ


จักขุทวาร - จักขุปสาท
โสตทวาร - โสตปสาท
ฆานทวาร - ฆานปสาท
ชิวหาทวาร - ชิวหาปสาท
กายทวาร - กายปสาท
มโนทวาร - ภวังคจิต เป็นวิปากจิต

ผัสสะเกิดนั้นมีการกระทบกัน 3 ตัวนี้ค่ะ ภวังคจิต ธรรมารมณ์ มโนวิญญาณ

๖. มโน - ใจ --------------- ธรรมารมณ์ -เรื่องในใจ------------ มโนวิญญาณ - รู้เรื่องในใจ

แล้วเรื่องในใจ เรื่องอะไรบ้างคะ



ทุำกเรืองที่มันคิดในใจนั่น เห็น แล้วก็คิด ฟังแล้วก็คิด จมูก ไ้ด้กลิ่น ก็คิดฯ เห็น-ไ้ด้ยิน- ไ้ด้กลิ่นฯลฯ ผ่านมาตั้งนมนานก็ยังคิด เยอะแยะบรรยายไม่หวาดไหว ลองนั่งหลับตาคิดดูเองจะเข้าใจ

การจำแนกแจกแจงออกไปนั่น แยอะแยะ จำแนกไ้ด้หลายแบบหลายวิธี


ธรรมารมณ์ ระบุตรงๆ ชัดๆ ได้สภาวะทั้งหมดค่ะ ไม่เกิน 1 บรรทัดค่ะ ธรรมารมณ์เมื่อว่าโดยสภาวะนั้น
มีสภาวะทั้งปรมัตถ์และรวมบัญญัติค่ะเว้นแค่ ปัญจารมณ์(รูปารมณ์-โผฏฐัพพารมณ์) เท่านั้นแหล่ะค่ะ
ไม่เห็นต้องไปให้กว้าง เห็นแสดงมาย่อๆ ก็น่าจะย่อได้นะคะ ไม่เห็นต้องลองนั่งหลับตาคิดเลยค่ะ
อย่าทำนะคะ เดี๋ยวฟุ้งซ่านเพราะมันเยอะค่ะ

แหม..ว่าจะถาม มโนวิญญาณ ต่ออีกสักอย่าง ไม่ถามดีกว่า บ้ายบายนะคะ cool

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2013, 12:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


คุณโสมฯ ดูแค่ขีดใต้พอนะครับ พ้นจากนั้นไปลึกซับซ้อนเกิน :b1:


อาศัยตา และ รูป เกิดจักขุวิญญาณ ความประจวบแห่งธรรมทั้งสามนั้น เป็นผัสสะ พราะผัสสะเป็นปัจจัยเวทนาจึงมี บุคคลเสวยอารมณ์ใด ย่อมหมายรู้อารมณ์นั้น (สัญญา) หมายรู้อารมณ์ใด ย่อมตริตรึกอารมณ์นั้น (วิตักกะ) ตริตรึกอารมณ์ใด ย่อมผันพิสดารซึงอารมณ์นั้น (ปปัญจะ) บุคคลผันพิสดารซึ่งอารมณ์ใด เพราะการผันพิสดารนั้นเป็นเหตุ ปปัญจแง่ต่างๆ (สัญญาที่ซับซ้อนหลากหลาย) ย่อมผุดพลุ่งสุมรุมเขา ในเรื่องรูปทั้งหลาย ที่พึงรู่ได้ด้วยตา ทั้งทีเป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน”

(...อายตนะและอารมณ์อื่นๆ จนครบ 6 คู่ใจความอย่างเดียวกัน)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2013, 12:02 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


SOAMUSA เขียน:
กรัชกาย เขียน:
SOAMUSA เขียน:
กรัชกาย เขียน:
SOAMUSA เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ความสัมพันธ์ที่มีชื่อในภาษาธรรมระหว่าง อายตนะ ๖ อารมณ์ ๖ และวิญญาณ ๖ ดังนี้

๑. จักขุ – ตา เป็นแดนรับรู้ รูป - รูป เกิดความรู้คือ จักขุวิญญาณ - เห็น

๒. โสต - หู --------------- สัททะ - เสียง ------------- โสตวิญญาณ - ไ้ด้ยิน

๓. ฆานะ - จมูก ----------- คันธะ - กลิ่น -------------- ฆานวิญญาณ – ได้กลิ่น

๔. ชิวหา - ลิ้น ------------- รส - รส ----------------- ชิวหาวิญญาณ - รู้รส

๕.กาย - กาย -------------- โผฏฐัพพะ - สิ่งต้องกาย ----------- กายวิญญาณ - รู้สิ่งต้องกาย

๖. มโน - ใจ --------------- ธรรมารมณ์ -เรื่องในใจ------------ มโนวิญญาณ - รู้เรื่องในใจ



อย่างไรก็ตาม แม้ว่า วิญญาณจะต้องอาศัยอายตนะและอารมณ์กระทบกันจึงจะเกิดขึ้นไ้ด้ ก็จริง แต่การที่อารมณ์เข้ามาปรากฏแก่อายตนะ ก็มิใช่จะทำให้วิญญาณเกิดขึ้นไ้ด้เสมอไป จำต้องมีความใส่ใจ ความกำหนดใจ หรือความใฝ่ใจประกอบอยู่ด้วย วิญญาณนั้นๆ จึงจะเกิดขึ้น



๖. มโน - ใจ --------------- ธรรมารมณ์ -เรื่องในใจ------------ มโนวิญญาณ - รู้เรื่องในใจ

ใจที่ทำสีแดงไว้ ใจตัวนี้ ช่วยอธิบายด้วยสิคะ


ใจในที่นี้ไม่ใช่หัวใจ เป็นจิตหรือใจ หรือมโน บางทีเรียกรวมกันว่าจิตใจ

จับคู่กันให้ดู


จักขุ - ตา
โสต -หู
ฆาน -จมูก
ชิวหา -ลิ้น
กาย -กาย
มโน -ใจ


จักขุทวาร - จักขุปสาท
โสตทวาร - โสตปสาท
ฆานทวาร - ฆานปสาท
ชิวหาทวาร - ชิวหาปสาท
กายทวาร - กายปสาท
มโนทวาร - ภวังคจิต เป็นวิปากจิต

ผัสสะเกิดนั้นมีการกระทบกัน 3 ตัวนี้ค่ะ ภวังคจิต ธรรมารมณ์ มโนวิญญาณ

๖. มโน - ใจ --------------- ธรรมารมณ์ -เรื่องในใจ------------ มโนวิญญาณ - รู้เรื่องในใจ

แล้วเรื่องในใจ เรื่องอะไรบ้างคะ



ทุำกเรืองที่มันคิดในใจนั่น เห็น แล้วก็คิด ฟังแล้วก็คิด จมูก ไ้ด้กลิ่น ก็คิดฯ เห็น-ไ้ด้ยิน- ไ้ด้กลิ่นฯลฯ ผ่านมาตั้งนมนานก็ยังคิด เยอะแยะบรรยายไม่หวาดไหว ลองนั่งหลับตาคิดดูเองจะเข้าใจ

การจำแนกแจกแจงออกไปนั่น แยอะแยะ จำแนกไ้ด้หลายแบบหลายวิธี


ธรรมารมณ์ ระบุตรงๆ ชัดๆ ได้สภาวะทั้งหมดค่ะ ไม่เกิน 1 บรรทัดค่ะ ธรรมารมณ์เมื่อว่าโดยสภาวะนั้น
มีสภาวะทั้งปรมัตถ์และรวมบัญญัติค่ะเว้นแค่ ปัญจารมณ์(รูปารมณ์-โผฏฐัพพารมณ์) เท่านั้นแหล่ะค่ะ
ไม่เห็นต้องไปให้กว้าง เห็นแสดงมาย่อๆ ก็น่าจะย่อได้นะคะ ไม่เห็นต้องลองนั่งหลับตาคิดเลยค่ะ
อย่าทำนะคะ เดี๋ยวฟุ้งซ่านเพราะมันเยอะค่ะ

แหม..ว่าจะถาม มโนวิญญาณ ต่ออีกสักอย่าง ไม่ถามดีกว่า บ้ายบายนะคะ cool


มโนวิญญาณ ความรู้ทางใจ มโน+วิญญาณ คิกๆๆ

ยังไม่ตอบเลยครับ เรียนจากไหนมา

http://www.youtube.com/watch?v=bAYyqDJHhg4

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2013, 12:11 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
SOAMUSA เขียน:



จักขุทวาร - จักขุปสาท
โสตทวาร - โสตปสาท
ฆานทวาร - ฆานปสาท
ชิวหาทวาร - ชิวหาปสาท
กายทวาร - กายปสาท
มโนทวาร - ภวังคจิต เป็นวิปากจิต

ผัสสะเกิดนั้นมีการกระทบกัน 3 ตัวนี้ค่ะ ภวังคจิต ธรรมารมณ์ มโนวิญญาณ




รูปารมณ์ + จักขายตนะ + จักขุวิญญาณ (การประจวบกันทั้งสามสิ่งนี้เรียกว่า) + ผัสสะ

คุณโสมฯ เรียนตำราไหนมาครับ :b10:


นั่นสินะ ตำราที่สอนเรื่องวิถีจิตละมั้งคะ ลองศึกษาดูนะคะว่าดิฉันกล่าวผิดตรงไหนแล้วช่วยมา
อธิบายให้ดิฉันฟังด้วยนะคะ แหม..สัญญาไม่เที่ยงอีกแระ เอ๊ะรึป่าวนะ

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2013, 12:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


SOAMUSA เขียน:
กรัชกาย เขียน:
SOAMUSA เขียน:



จักขุทวาร - จักขุปสาท
โสตทวาร - โสตปสาท
ฆานทวาร - ฆานปสาท
ชิวหาทวาร - ชิวหาปสาท
กายทวาร - กายปสาท
มโนทวาร - ภวังคจิต เป็นวิปากจิต

ผัสสะเกิดนั้นมีการกระทบกัน 3 ตัวนี้ค่ะ ภวังคจิต ธรรมารมณ์ มโนวิญญาณ




รูปารมณ์ + จักขายตนะ + จักขุวิญญาณ (การประจวบกันทั้งสามสิ่งนี้เรียกว่า) + ผัสสะ

คุณโสมฯ เรียนตำราไหนมาครับ :b10:


นั่นสินะ ตำราที่สอนเรื่องวิถีจิตละมั้งคะ ลองศึกษาดูนะคะว่าดิฉันกล่าวผิดตรงไหนแล้วช่วยมา
อธิบายให้ดิฉันฟังด้วยนะคะ แหม..สัญญาไม่เที่ยงอีกแระ เอ๊ะรึป่าวนะ


ไม่ไ้ด้พูดถึงวิถีจิต แล้วจะไปเอาวิถีจิตมาแต่ไหน นั่งนับนานไหมครับวิถีจิต

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2013, 12:18 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
Moderators-1
Moderators-1
ลงทะเบียนเมื่อ: 01 ก.พ. 2011, 08:23
โพสต์: 1328


 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
SOAMUSA เขียน:
กรัชกาย เขียน:
SOAMUSA เขียน:
กรัชกาย เขียน:
SOAMUSA เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ความสัมพันธ์ที่มีชื่อในภาษาธรรมระหว่าง อายตนะ ๖ อารมณ์ ๖ และวิญญาณ ๖ ดังนี้

๑. จักขุ – ตา เป็นแดนรับรู้ รูป - รูป เกิดความรู้คือ จักขุวิญญาณ - เห็น

๒. โสต - หู --------------- สัททะ - เสียง ------------- โสตวิญญาณ - ไ้ด้ยิน

๓. ฆานะ - จมูก ----------- คันธะ - กลิ่น -------------- ฆานวิญญาณ – ได้กลิ่น

๔. ชิวหา - ลิ้น ------------- รส - รส ----------------- ชิวหาวิญญาณ - รู้รส

๕.กาย - กาย -------------- โผฏฐัพพะ - สิ่งต้องกาย ----------- กายวิญญาณ - รู้สิ่งต้องกาย

๖. มโน - ใจ --------------- ธรรมารมณ์ -เรื่องในใจ------------ มโนวิญญาณ - รู้เรื่องในใจ



อย่างไรก็ตาม แม้ว่า วิญญาณจะต้องอาศัยอายตนะและอารมณ์กระทบกันจึงจะเกิดขึ้นไ้ด้ ก็จริง แต่การที่อารมณ์เข้ามาปรากฏแก่อายตนะ ก็มิใช่จะทำให้วิญญาณเกิดขึ้นไ้ด้เสมอไป จำต้องมีความใส่ใจ ความกำหนดใจ หรือความใฝ่ใจประกอบอยู่ด้วย วิญญาณนั้นๆ จึงจะเกิดขึ้น



๖. มโน - ใจ --------------- ธรรมารมณ์ -เรื่องในใจ------------ มโนวิญญาณ - รู้เรื่องในใจ

ใจที่ทำสีแดงไว้ ใจตัวนี้ ช่วยอธิบายด้วยสิคะ


ใจในที่นี้ไม่ใช่หัวใจ เป็นจิตหรือใจ หรือมโน บางทีเรียกรวมกันว่าจิตใจ

จับคู่กันให้ดู


จักขุ - ตา
โสต -หู
ฆาน -จมูก
ชิวหา -ลิ้น
กาย -กาย
มโน -ใจ


จักขุทวาร - จักขุปสาท
โสตทวาร - โสตปสาท
ฆานทวาร - ฆานปสาท
ชิวหาทวาร - ชิวหาปสาท
กายทวาร - กายปสาท
มโนทวาร - ภวังคจิต เป็นวิปากจิต

ผัสสะเกิดนั้นมีการกระทบกัน 3 ตัวนี้ค่ะ ภวังคจิต ธรรมารมณ์ มโนวิญญาณ

๖. มโน - ใจ --------------- ธรรมารมณ์ -เรื่องในใจ------------ มโนวิญญาณ - รู้เรื่องในใจ

แล้วเรื่องในใจ เรื่องอะไรบ้างคะ



ทุำกเรืองที่มันคิดในใจนั่น เห็น แล้วก็คิด ฟังแล้วก็คิด จมูก ไ้ด้กลิ่น ก็คิดฯ เห็น-ไ้ด้ยิน- ไ้ด้กลิ่นฯลฯ ผ่านมาตั้งนมนานก็ยังคิด เยอะแยะบรรยายไม่หวาดไหว ลองนั่งหลับตาคิดดูเองจะเข้าใจ

การจำแนกแจกแจงออกไปนั่น แยอะแยะ จำแนกไ้ด้หลายแบบหลายวิธี


ธรรมารมณ์ ระบุตรงๆ ชัดๆ ได้สภาวะทั้งหมดค่ะ ไม่เกิน 1 บรรทัดค่ะ ธรรมารมณ์เมื่อว่าโดยสภาวะนั้น
มีสภาวะทั้งปรมัตถ์และรวมบัญญัติค่ะเว้นแค่ ปัญจารมณ์(รูปารมณ์-โผฏฐัพพารมณ์) เท่านั้นแหล่ะค่ะ
ไม่เห็นต้องไปให้กว้าง เห็นแสดงมาย่อๆ ก็น่าจะย่อได้นะคะ ไม่เห็นต้องลองนั่งหลับตาคิดเลยค่ะ
อย่าทำนะคะ เดี๋ยวฟุ้งซ่านเพราะมันเยอะค่ะ

แหม..ว่าจะถาม มโนวิญญาณ ต่ออีกสักอย่าง ไม่ถามดีกว่า บ้ายบายนะคะ cool


มโนวิญญาณ ความรู้ทางใจ มโน+วิญญาณ คิกๆๆ

ยังไม่ตอบเลยครับ เรียนจากไหนมา

http://www.youtube.com/watch?v=bAYyqDJHhg4


มโนวิญญาณ คือจิตที่เหลือทั้งหมดไงคะ เว้น ทวิปัญจวิญญาณจิต- จักขุวิญญาณ เป็นต้นค่ะ

ไปละค่ะ คำตอบคุณนี่เค้าเรียกว่า อะไรนะ อ๋อ กำปั้นทุบดินค่ะ
บ้ายบายค่ะ วันหน้าจะมาสนทนาใหม่
ขอเชิญร่ายยาวต่อไปเรื่อยๆ นะคะ

.....................................................
พระพุทธศาสนามี ๒ นัย ดังนี้...นัยที่ ๑ คือคำสอนของพระพุทธองค์มี ๓ ประการ...เพื่อประโยชน์ในภพนี้ ในภพหน้า เพื่อเข้าถึงความสุขโดยส่วนเดียวคือพระนิพพาน...นัยที่ ๒ คือแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาคืออริยสัจจ ๔ ซึ่งเป็นสภาวะธรรมที่ทำให้ผู้เห็นแจ้ง พ้นทุกข์ทั้งปวงได้ การศึกษาพระอภิธรรมว่าด้วยสภาวะธรรมทั้งสิ้น ผู้เห็นประโยชน์ย่อมได้รับประโยชน์ค่ะ
(เกิดมาไม่ได้เป็นผู้สร้าง ก็จงเป็นผู้ที่รักษา แต่จงอย่าเป็นผู้ที่ทำลาย)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2013, 12:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


SOAMUSA เขียน:
กรัชกาย เขียน:
SOAMUSA เขียน:
กรัชกาย เขียน:
SOAMUSA เขียน:
กรัชกาย เขียน:
SOAMUSA เขียน:
กรัชกาย เขียน:
ความสัมพันธ์ที่มีชื่อในภาษาธรรมระหว่าง อายตนะ ๖ อารมณ์ ๖ และวิญญาณ ๖ ดังนี้

๑. จักขุ – ตา เป็นแดนรับรู้ รูป - รูป เกิดความรู้คือ จักขุวิญญาณ - เห็น

๒. โสต - หู --------------- สัททะ - เสียง ------------- โสตวิญญาณ - ไ้ด้ยิน

๓. ฆานะ - จมูก ----------- คันธะ - กลิ่น -------------- ฆานวิญญาณ – ได้กลิ่น

๔. ชิวหา - ลิ้น ------------- รส - รส ----------------- ชิวหาวิญญาณ - รู้รส

๕.กาย - กาย -------------- โผฏฐัพพะ - สิ่งต้องกาย ----------- กายวิญญาณ - รู้สิ่งต้องกาย

๖. มโน - ใจ --------------- ธรรมารมณ์ -เรื่องในใจ------------ มโนวิญญาณ - รู้เรื่องในใจ



อย่างไรก็ตาม แม้ว่า วิญญาณจะต้องอาศัยอายตนะและอารมณ์กระทบกันจึงจะเกิดขึ้นไ้ด้ ก็จริง แต่การที่อารมณ์เข้ามาปรากฏแก่อายตนะ ก็มิใช่จะทำให้วิญญาณเกิดขึ้นไ้ด้เสมอไป จำต้องมีความใส่ใจ ความกำหนดใจ หรือความใฝ่ใจประกอบอยู่ด้วย วิญญาณนั้นๆ จึงจะเกิดขึ้น



๖. มโน - ใจ --------------- ธรรมารมณ์ -เรื่องในใจ------------ มโนวิญญาณ - รู้เรื่องในใจ

ใจที่ทำสีแดงไว้ ใจตัวนี้ ช่วยอธิบายด้วยสิคะ


ใจในที่นี้ไม่ใช่หัวใจ เป็นจิตหรือใจ หรือมโน บางทีเรียกรวมกันว่าจิตใจ

จับคู่กันให้ดู


จักขุ - ตา
โสต -หู
ฆาน -จมูก
ชิวหา -ลิ้น
กาย -กาย
มโน -ใจ


จักขุทวาร - จักขุปสาท
โสตทวาร - โสตปสาท
ฆานทวาร - ฆานปสาท
ชิวหาทวาร - ชิวหาปสาท
กายทวาร - กายปสาท
มโนทวาร - ภวังคจิต เป็นวิปากจิต

ผัสสะเกิดนั้นมีการกระทบกัน 3 ตัวนี้ค่ะ ภวังคจิต ธรรมารมณ์ มโนวิญญาณ

๖. มโน - ใจ --------------- ธรรมารมณ์ -เรื่องในใจ------------ มโนวิญญาณ - รู้เรื่องในใจ

แล้วเรื่องในใจ เรื่องอะไรบ้างคะ



ทุำกเรืองที่มันคิดในใจนั่น เห็น แล้วก็คิด ฟังแล้วก็คิด จมูก ไ้ด้กลิ่น ก็คิดฯ เห็น-ไ้ด้ยิน- ไ้ด้กลิ่นฯลฯ ผ่านมาตั้งนมนานก็ยังคิด เยอะแยะบรรยายไม่หวาดไหว ลองนั่งหลับตาคิดดูเองจะเข้าใจ

การจำแนกแจกแจงออกไปนั่น แยอะแยะ จำแนกไ้ด้หลายแบบหลายวิธี


ธรรมารมณ์ ระบุตรงๆ ชัดๆ ได้สภาวะทั้งหมดค่ะ ไม่เกิน 1 บรรทัดค่ะ ธรรมารมณ์เมื่อว่าโดยสภาวะนั้น
มีสภาวะทั้งปรมัตถ์และรวมบัญญัติค่ะเว้นแค่ ปัญจารมณ์(รูปารมณ์-โผฏฐัพพารมณ์) เท่านั้นแหล่ะค่ะ
ไม่เห็นต้องไปให้กว้าง เห็นแสดงมาย่อๆ ก็น่าจะย่อได้นะคะ ไม่เห็นต้องลองนั่งหลับตาคิดเลยค่ะ
อย่าทำนะคะ เดี๋ยวฟุ้งซ่านเพราะมันเยอะค่ะ

แหม..ว่าจะถาม มโนวิญญาณ ต่ออีกสักอย่าง ไม่ถามดีกว่า บ้ายบายนะคะ cool


มโนวิญญาณ ความรู้ทางใจ มโน+วิญญาณ คิกๆๆ

ยังไม่ตอบเลยครับ เรียนจากไหนมา

http://www.youtube.com/watch?v=bAYyqDJHhg4


มโนวิญญาณ คือจิตที่เหลือทั้งหมดไงคะ เว้น ทวิปัญจวิญญาณจิต- จักขุวิญญาณ เป็นต้นค่ะ

ไปละค่ะ คำตอบคุณนี่เค้าเรียกว่า อะไรนะ อ๋อ กำปั้นทุบดินค่ะ
บ้ายบายค่ะ วันหน้าจะมาสนทนาใหม่
ขอเชิญร่ายยาวต่อไปเรื่อยๆ นะคะ



1. รูปารมณ์ - จักขายตนะ - จักขุวิญญาณ

2. ฯลฯ - โสตวิญญาณ

3. ฯลฯ - ฆานวิญญาณ

4. ฯลฯ - ชิวหาวิญญาณ

5. ฯลฯ - กายวิญญาณ

6. ธรรมารมณ์ + เรื่องในใจ +มโนวิญญาณ - รู้เรื่องในใจ

อย่าเพิงใปนะครับ กรัชกายไม่ให้คุณไป

อ้อ อย่าถามนะเรื่องในใจเรื่องอะไรบ้าง

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2013, 14:26 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 20 มี.ค. 2010, 19:57
โพสต์: 1014

โฮมเพจ: http://www.vitwong.blogspot.com
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว www


มาเรื่องนาม กันแล้วหรือ

พูดเรื่องรูป อยู่ดีๆ

.....................................................
ยังงมงาย...
เมื่อเห็นว่าพระไตรปิฏก มีส่วนถูก มีส่วนจริงแค่ 20 ถึง 30 เปอร์เซนต์ เท่านั้น

เลิกงมงาย..
เมื่อเห็นว่า พระไตรปิฏก มีส่วนถูก ส่วนจริง เกินกว่า 80 ถึง กว่า 90 เปอร์เซนต์

http://www.youtube.com/user/govit2554#g/u


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2013, 14:35 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 20 มี.ค. 2010, 19:57
โพสต์: 1014

โฮมเพจ: http://www.vitwong.blogspot.com
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว www


ความจริง จิตที่ทำหน้าที่เป็นมโนทวาร
มีแค่ดวงเดียว คือ ภวังคุปัจเฉทจิต เท่านั้น

ฝากคุณโสมอุสา ไปลองค้นดูครับ

หทยรูป หทยวัตถุ ไม่ได้ทำหน้าที่ เป็นทวารเลย ............อันนี้บ่นครับ
หทยวัตถุ ไม่กระทบอารมณ์ได้

รูปที่กระทบอารมณ์ ได้ ให้สังเกตุว่า เป็น ปสาทรูป5 เท่านั้น

แล้ว มโนผัสสะ หรือมโนสัมผัส จะเกิดได้อย่างไร

ก็ต้องมี 3 สิ่งประจวบกัน เหมือนผัสสะช่องทางอื่น

คือ มโน+ธรรมารมณ์+มโนวิญญาณ

ไม่ยืนยันนะครับ เพราะยังไม่ได้เปิดตำรา

.....................................................
ยังงมงาย...
เมื่อเห็นว่าพระไตรปิฏก มีส่วนถูก มีส่วนจริงแค่ 20 ถึง 30 เปอร์เซนต์ เท่านั้น

เลิกงมงาย..
เมื่อเห็นว่า พระไตรปิฏก มีส่วนถูก ส่วนจริง เกินกว่า 80 ถึง กว่า 90 เปอร์เซนต์

http://www.youtube.com/user/govit2554#g/u


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2013, 15:54 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


มาว่าเรื่องรูปธรรม เ็ห็นๆนี่่แหละต่ออีกนิด (นามธรรม เอาไว้ก่อน) ถามคุณ govit ถ้าพูดตามสมมติ ตัวคุณเองเรียกว่ารูปมั้ยครับ ว่าไม่ใช่รูปก็แล้วไป ถ้าเรียกว่า รูป คุณจำแนกคร่าวๆสิครับ ไม่ต้องละเอียดก็ไ้ด้ บอกพอเห็นเค้า :b1:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2013, 16:28 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 20 มี.ค. 2010, 19:57
โพสต์: 1014

โฮมเพจ: http://www.vitwong.blogspot.com
อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว www


ตัวผมหรือ

เรียก กายก็ได้ เพราะเป็นที่รวมที่ประชุมของรูป

เรียก รูปขันธ์ ก็ได้ เพราะเป็นกองแห่งรูปทั้้ง 27

ขาดอยู่รูปเดียว ผมไม่มีคือ อิตถีภาวะรูป

.....................................................
ยังงมงาย...
เมื่อเห็นว่าพระไตรปิฏก มีส่วนถูก มีส่วนจริงแค่ 20 ถึง 30 เปอร์เซนต์ เท่านั้น

เลิกงมงาย..
เมื่อเห็นว่า พระไตรปิฏก มีส่วนถูก ส่วนจริง เกินกว่า 80 ถึง กว่า 90 เปอร์เซนต์

http://www.youtube.com/user/govit2554#g/u


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 25 ต.ค. 2013, 19:04 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


เพื่อให้เห็นภาพกว้างอีก (สังเกตความหมาย บัญญัติ)



ตัวสภาวะ

พุทธธรรมมองเห็นสิ่งทั้งหลายเป็นธาตุ เป็นธรรม เป็นสภาวะ (เรียกยาวว่า “สภาวธรรม” ตามคำบาลีว่า “สภาวธมฺม “ส+ภาว+ธมฺม แปลว่า สิ่งที่มีภาวะของมันเอง) อันมีอยู่เป็นอยู่ตามภาวะของมันเอง ที่เป็นของมันอย่างนั้น เช่นนั้น ตามธรรมดาของมัน มิใช่มีเป็น สัตว์ บุคคล อัตตา ตัวตน เรา เขา ที่จะยึดถือเอาเป็นเจ้าของ ครอบครอง บังคับบัญชาให้เป็นไปตามปรารถนาอย่างไรๆได้

บรรดาสิ่งทั้งหลายที่รู้จักเข้าใจกันอยู่โดยทั่วไปนั้น มีอยู่เป็นอยู่เป็นไปในรูปของส่วนประกอบต่างๆ ที่มาประชุมกันเข้า ตัวตนแท้ๆ ของสิ่งทั้งหลายไม่มี เมื่อแยกส่วนต่างๆ ที่มาประกอบกันเข้านั้นออกไปให้หมด ก็จะไม่พบตัวตนของสิ่งนั้นเหลืออยู่ ตัวอย่างง่ายๆ ที่ยกขึ้นอ้างกันบ่อยๆ คือ “รถ” เมื่อนำส่วนประกอบต่างๆ มาประกอบเข้าด้วยกันตามแบบที่กำหนด ก็บัญญัติเรียกกันว่า “รถ” แต่ถ้าแยกส่วนประกอบทั้งหมดออกจากัน ก็จะหาตัวตนของรถไม่ได้ มีแต่ส่วนประกอบทั้งหลาย ซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆ กันจำเพาะแต่ละอย่างอยู่แล้ว คือ ตัวตนของรถมิได้มีอยู่ต่างหากจากส่วนประกอบเหล่านั้น มีแต่เพียงคำบัญญัติว่า “รถ” สำหรับสภาพที่มารวมตัวกันข้าวของส่วนประกอบเหล่านั้น แม้ส่วนประกอบแต่ละอย่างๆนั้นเอง ก็ปรากฏขึ้นโดยการรวมกันเข้าของส่วนประกอบย่อยๆ ต่อๆไปอีก และหาตัวตนที่แท้ไม่พบเช่นเดียวกัน เมื่อจะพูดว่าสิ่งทั้งหลายมีอยู่ ก็ต้องเข้าใจในความหมายว่า มีอยู่ในฐานะมีส่วนประกอบต่างๆ มาประชุมเข้าด้วยกัน



เมื่อมองสภาพของสิ่งทั้งหลายในรูปของการประชุมส่วนประกอบเช่นนี้ พุทธธรรมจึงต้องแสดงต่อไปว่า ส่วนประกอบต่างๆ เหล่านั้น เป้นอย่างไร มีอะไรบ้าง อย่างน้อยก็พอเป็นตัวอย่าง และโดยที่พุทธธรรมมีความเกี่ยวข้องเป็นพิเศษกับเรื่องชีวิต โดยเฉพาะในด้านจิตใจ การแสดงส่วนประกอบต่างๆ จึงต้องครอบคลุมทั้งวัตถุและจิตใจ หรือทั้งรูปธรรม และนามธรรม และมักแยกแยะเป็นพิเศษในด้านจิตใจ

การแสดงส่วนประกอบต่างๆนั้น ย่อมทำได้หลายแบบ สุดแต่วัตถุประสงค์จำเพาะของการแสดงแบบนั้นๆ แต่ในที่นี้ จะแสดงแบบขันธ์ 5 ซึ่งเป็นแบบที่นิยมในพระสูตร


โดยวิธีแบ่งแบบขันธ์ 5 พุทธธรรมแยกแยะชีวิตพร้อมทั้งองคาพยพทั้งหมดที่บัญญัติ เรียกว่า “สัตว์” “บุคคล” ฯลฯ ออกเป็นส่วนประกอบต่างๆ 5 ประเภท หรือ 5 หมวด เรียกทางธรรมว่า เบญจขันธ์

1. รูปขันธ์ ได้แก่ องค์ประกอบฝ่ายรูปธรรมทั้งหมด ร่างกาย และพฤติกรรมทั้งหมดของร่างกาย หรือสสารและพลังงานฝ่ายวัตถุ พร้อมทั้งคุณสมบัติ และพฤติกรรมต่างๆ ของสสารพลังงานเหล่านั้น

2. เวทนาขันธ์
3. สัญญาขันธ์
4.สังขารขันธ์
5. วิญญาณขันธ์



ลงให้สังเกตเพียงรูปขันธ์พอ

ข้อ 1 เป็นฝ่ายรูปธรรม ข้อ 2-5 เป็นฝ่ายนามธรรม (รูป นาม)

ฝ่ายอภิธรรมจำแนกแจกแจงรูปขันธ์ออกเป็น 28 รูป (มหาภูตรูป 4 อุปาทายรูป 24)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ต.ค. 2013, 00:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


govit2552 เขียน:
ความจริง จิตที่ทำหน้าที่เป็นมโนทวาร
มีแค่ดวงเดียว คือ ภวังคุปัจเฉทจิต เท่านั้น

ฝากคุณโสมอุสา ไปลองค้นดูครับ

หทยรูป หทยวัตถุ ไม่ได้ทำหน้าที่ เป็นทวารเลย ............อันนี้บ่นครับ
หทยวัตถุ ไม่กระทบอารมณ์ได้

รูปที่กระทบอารมณ์ ได้ ให้สังเกตุว่า เป็น ปสาทรูป5 เท่านั้น

แล้ว มโนผัสสะ หรือมโนสัมผัส จะเกิดได้อย่างไร

ก็ต้องมี 3 สิ่งประจวบกัน เหมือนผัสสะช่องทางอื่น

คือ มโน+ธรรมารมณ์+มโนวิญญาณ

ไม่ยืนยันนะครับ เพราะยังไม่ได้เปิดตำรา


อันนี้ขอแย้งนิดหนึ่งครับ เป็นเวลานานแล้วที่ผมนั่งสมาธิแล้วศึกษาเรื่องหทัยอย่างหลายๆกระทู้ก็เคยเอามาเล่า หากกำหนดรู้ละเอียดลงไป ให้ธรรมเกิดความละเอียด เราจะสัมผัสถึงหทัยในส่วนของนาม คือเกิดผัสสะ จะส่งผลถึงหทัย แม้สังขารขันธ์ ก็ระงับลงได้ ผมก็ศึกษาอยู่ยังไม่รู้ลึกเท่าไหร่ แต่สนใจมาก แม้หทัยรูปก็เป็นตัวแปลที่สำคัญในการทำให้การกระทบเกิดความหยาบหรือละเอียด นี่เป็นความเห็นส่วนตัวนะครับ เพราะศึกษาอยู่ ผิดอย่างไรก็ขออภัยมากๆ

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 26 ต.ค. 2013, 02:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


govit2552 เขียน:
ตัวผมหรือ

เรียก กายก็ได้ เพราะเป็นที่รวมที่ประชุมของรูป

เรียก รูปขันธ์ ก็ได้ เพราะเป็นกองแห่งรูปทั้้ง 27


เรียกทั้งสองอย่างไม่ได้ครับ ต้องเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง

กาย เป็นบัญญัติที่พระพุทธกำหนดให้รู้ว่า....รูปธรรมที่ปราศจากอุปาทายรูป
เป็นเพียงธาตุสี่

รูปขันธ์ เป็นบัญญัติที่พระพุทธองค์กำหนดให้รู้ว่า.....รูปธรรมที่ประกอบด้วยธาตุสี่
และอุปาทายรูป

govit2552 เขียน:

ขาดอยู่รูปเดียว ผมไม่มีคือ อิตถีภาวะรูป


พูดแบบนี้คุณก็ไม่สามารถแยกภาวะรูปได้น่ะซิครับ
หญิงชายต่างกันอย่างไรคุณก็คงไม่รู้

ผมเห็นคุณอธิบายความมาตั้งแต่เริ่ม มันเป็นความเข้าใจผิดในเรื่องรูปปรมัตถ์ของคุณ
รูปปรมัตถ์ เป็นสิ่งที่เกิดภายในกายใจของเราครับ แต่คุณโกวิทไปเอาสิ่งที่อยู่นอกกายใจมาพูด
เป็นแบบนี้เลยทำให้คุณสับสน

อย่างเช่นกรณีนี้ คุณเข้าว่า อิตถีรูปเป็นผู้หญิง คุณก็เลยบอกว่าคุณไม่มีอิสถีรูป
เพราะคุณเป็นผู้ชายนั้นเอง มันไม่ใช่อย่างที่คุณคิดครับ

ภาวะรูปหมายถึง มีสิ่งภายนอกมากระทบครับ อย่างเช่น เห็นผู้หญิง
มันจะเกิดเป็นอิสถีรูปขึ้นที่ใจเราครับ หรือเห็นผู้ชายก็จะเป็นปุริสรูป

ภาวะรูป.....ไม่ได้หมายถึงความเป็นหญิงชายของเราครับ
แต่หมายถึงความเป็นหญิงหรือชายมากระทบที่กายใจเราครับ


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 134 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1 ... 4, 5, 6, 7, 8, 9  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร