วันเวลาปัจจุบัน 18 ก.ค. 2025, 11:33  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 82 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2013, 19:06 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5976

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
walaiporn เขียน:


หลักยึดใจที่เอามาพิมพ์บ่อยๆเป็นครั้งที่ ร้อยแล้วกระมัง ก็ยังไม่ชี้ตรง เป(็นเพียงหลักยึดเพื่อให้กำลังใจเท่านั้น

หลักยึดใจพึงควรเป็นหลักปฏิบัติ ที่ชี้ตรงสู่เป้าหมายสูงสุดของชาวพุทธ จึงจะเป็นเครื่องแสดงออกถึงความมุ่งมั่น จริงใจ ที่เรียกว่า "โยนิโสมนสิการ" อย่างแท้จริง....โปรดพิจารณา


อ้างคำพูด:
วลัยพร เชื่อในคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงตรัสไว้ว่า

ภิกษุทั้งหลาย ! บาปกรรมแม้ประมาณน้อย
บุคคล บางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น นำเขาไปนรกได้

ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว
กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไม่ปรากฏผลมาก ต่อไปเลย…

ภิกษุทั้งหลาย ! ใครกล่าวว่า
คนทำกรรม อย่างใดๆ ย่อมเสวยกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนั้นๆ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีไม่ได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ไม่ปรากฏ

ส่วนใครกล่าวว่า

คนทำกรรม อันจะพึงให้ผล อย่างใดๆ
ย่อมเสวยผลของกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ย่อมปรากฏ.
ติก. อํ. ๒๐/๓๒๐/๕๔๐.





โธ่เอ๊ยยย โสกะ ช่างไม่รู้อะไรบ้างเลย

มีการหยิบยก เพื่อเข้าข้างสำบัดสำนวนของตัวเองจนได้นะ โสกะ



ที่วลัยพร หยิบยก มาบ่อยๆน่ะ

เพราะเห็นโสกะ ชอบใช้คำพูดทั้งข่มขู ทั้งสาปแช่งผู้อื่น

จึงหยิบยกคำสอนของพรพุทธเจ้ามาแสดง เพราะเหตุนี้

ว่าอย่าไปสนใจกับคำขู่ลมๆแล้งๆ แม้กระทั่ง คำสาปแช่งของโสกะ

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2013, 22:06 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


walaiporn เขียน:
asoka เขียน:
walaiporn เขียน:


หลักยึดใจที่เอามาพิมพ์บ่อยๆเป็นครั้งที่ ร้อยแล้วกระมัง ก็ยังไม่ชี้ตรง เป(็นเพียงหลักยึดเพื่อให้กำลังใจเท่านั้น

หลักยึดใจพึงควรเป็นหลักปฏิบัติ ที่ชี้ตรงสู่เป้าหมายสูงสุดของชาวพุทธ จึงจะเป็นเครื่องแสดงออกถึงความมุ่งมั่น จริงใจ ที่เรียกว่า "โยนิโสมนสิการ" อย่างแท้จริง....โปรดพิจารณา


อ้างคำพูด:
วลัยพร เชื่อในคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงตรัสไว้ว่า

ภิกษุทั้งหลาย ! บาปกรรมแม้ประมาณน้อย
บุคคล บางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น นำเขาไปนรกได้

ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว
กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไม่ปรากฏผลมาก ต่อไปเลย…

ภิกษุทั้งหลาย ! ใครกล่าวว่า
คนทำกรรม อย่างใดๆ ย่อมเสวยกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนั้นๆ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีไม่ได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ไม่ปรากฏ

ส่วนใครกล่าวว่า

คนทำกรรม อันจะพึงให้ผล อย่างใดๆ
ย่อมเสวยผลของกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ย่อมปรากฏ.
ติก. อํ. ๒๐/๓๒๐/๕๔๐.





โธ่เอ๊ยยย โสกะ ช่างไม่รู้อะไรบ้างเลย

มีการหยิบยก เพื่อเข้าข้างสำบัดสำนวนของตัวเองจนได้นะ โสกะ



ที่วลัยพร หยิบยก มาบ่อยๆน่ะ

เพราะเห็นโสกะ ชอบใช้คำพูดทั้งข่มขู ทั้งสาปแช่งผู้อื่น

จึงหยิบยกคำสอนของพรพุทธเจ้ามาแสดง เพราะเหตุนี้

ว่าอย่าไปสนใจกับคำขู่ลมๆแล้งๆ แม้กระทั่ง คำสาปแช่งของโสกะ

s004
เมื่อมีนิสัยมองโลกในทางลบ คอยจับผิดผู้อื่นอยู่เรื่อย แม้คำอวยพร กรือคำเตือนด้วยความปารถนาดี ก็กลับกลายเห็นเป็นคำสาปแช่ง

ถ้าตนมิได้ทำผิดจะกลัวอะไรกับคำสาปแช่ง แต่ถ้าผิดจริงนั่นแหละพึงกลัว เพราะคำเตือนนั้น เหมือนเป็นการชี้บอกว่า

"กรรมที่เจ้าทำนี้นะ จะไปให้ผลเป็นวิบากอย่างนี้ ๆ ถ้าไม่รีบแก้ไข" ก็จะกลับกลายไปเหมือนคำสาปแช่งในทันที โดยที่ผู้เตือนก็มิได้หมายเป็นการสาปแช่ง แต่ผู้ถูกเตือนทำให้มันเป็นไปเอง

อย่างเรื่ออริยุวาตันตราย ที่โฮฮับทำอยู่เป็นนิจนั่นหนะ เตือนด้วยความหวังดีจริงๆ เพราะเคยพบคนที่ต้องอริยุวาตันตรายมาแล้ว ถึงจะฉลาดแสนฉลาดแต่ ไม่สามารถทำความเข้าใจธรรมะและวิธีปฏิบัติธรรมอันถูกต้องที่พระพุทธเจ้าทรงสอนได้ แม้แต่ชีพจรอันเป็นของง่ายๆยังหาไม่เจอเลย แล้วธรรมะที่ละเอียดอ่อนหรือเป็นนามธรรมจะค้นหาเจอได้อย่างไร

สำหรับวลัยพร ยังไม่พบเห็นเรื่องอริยุวาตันตราย แต่ กำลังเฉียดกลายใกล้เข้าไปแล้ว เพราะความไม่รู้ในอีกหลายเรื่องที่ไม่ค่อยมีบอกไว้ในตำรา แต่มีอยู่ในชีวิตจริง จึงสำคัญผิด เห็นผิด อย่างเรื่องอาการของธรรมส่ง มรรค รับ เป็นต้น จึงวิตกวิจารณ์ และสำคัญผิดครูบาอาจารย์ไป อาจทำให้เกิดปมาทะในใจแต่ยังไม่แสดงออกมา ต้องคอยระวังให้ดี

ศึกษาและสังเกตการณ์ต่อไปเรื่อยๆนะวลัยพร คงจะได้พบอะไรดีๆอีกเยอะ ถ้าไม่ถอยไปเสี่ยก่อน

:b16: :b16: :b16:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2013, 22:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิก ระดับ 4
สมาชิก ระดับ 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 22 ธ.ค. 2009, 00:22
โพสต์: 223

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อนุโมทนาทุกๆท่านครับ :b47: :b8:

การอ่านอารมณ์ความต่อเนื่องของประโยคตัวอักษร โดยส่วนตัวคิดว่ามีหลายเหตุปัจจัย

เหมือนมีปัจจัยประกอบกันหลายส่วน

:b46: อารมณ์ของผู้สื่อตอนนั้น การใช้ภาษา มุมมองในการคิดและการแสดงออก ฯ

:b41: อารมณ์ของผู้อ่านตอนนั้น การถอดความในด้าน อารมณ์ของผู้สื่อ เรื่องราวของผู้ที่ต้องการสื่อ

อื่นๆอีกเยอะเลย (สีตัวอักษร ช่องว่างตัวอักษร ความห่างของแต่บรรทัด ฯ )

เคยลองสังเกตุดู ทำไมมาอ่านแต่ล่ะครั้ง การแปลความออกมา ในหลายๆส่วนไม่ตรงกันเวลาถอดความออกมา

เหมือนรอบแรกก็ถอดความได้ลักษณะหนึ่งกับวันหลังมาอ่านใหม่ก็ถอดความได้อีกลักษณะหนึ่ง


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 19 ธ.ค. 2013, 23:00 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5976

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


นี่คือ สิ่งที่ โสกะ ชอบกระทำเนืองๆ



walaiporn เขียน:
ความเนียนของกิเลส


ชอบแช่ง



asoka เขียน:

นรกกินหัวโฮฮับเสียแล้ว ด้วยความอหังการ มนังการ ทำปรามาส ปราศจาก หิริโอตัปปะ




ชอบเหน็บแนม ทั้งๆที่ ไม่ใช่ตามความเป็นจริง

asoka เขียน:

โฮฮับหมดค่าแล้วในสายตาของผู้รู้ กู่อย่างไรคงไม่กลับเพราะหลงตัวตนและหลงทางดังนักพรตทั้งหลายยากไถ่ถอน




asoka เขียน:

มากพอแล้วความเห็นของโฮฮับ ต่อจากนี้ไปควรทำความสงบอกสงบใจ ขันติ อดทนต่อถ้อยคำ สำรวมกิริยาวาจา ตั้งหน้าพิจารณาข้อธรรมที่จะแสดงต่อไปด้วยใจเคารพ เพื่อจะให้เกิดประโยชน์กับหมู่ชนทุกฝ่าย นะโฮฮับนะ.....ทำตัวเป็นเด็กดีเสียบ้างนะ อย่าได้ทำตัวเป็นผู้ขวางโลก ขวางธรรมอย่างที่ทำอยู่ทุกวันนี้ ต่อไปอีก บาปกรรมมันจะหนักขึ้นไปเรื่อยๆจนแผ่นดินนี้รองรับไว้ไม่ไหวนะ ดูตัวอย่างพระเทวทัตนั่นให้ดีๆ



พระพุทธเจ้า ทรงทำนายพระเทวทัติ ไว้ว่าอย่างไร ช่างไม่รู้อะไร ซะบ้างเลย

ไปพูดแบบนั้น อีกหน่อย คนจทำเลียนแบบพระเทวทัติมากขึ้น

เพราะอยากเป็นดังคำที่พระพุทธเจ้า ทรงทำนายพระเทวทัติไว้

หรือว่า อโสกะ คิดจะทำแบบนั้นอยู่ :b32:





ชอบข่มขู่ ทั้งๆที่ คำที่นำมาขู่นั้น ขัดกับคำสอนของพระพุทธเจ้า

เรียกว่า มีสภาวะสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และ สีลัพพตปรามาส เต็มตัว


asoka เขียน:

อย่ามัวงมโข่งอยู่กับตำรา และอัตตา มานะทิฏฐิ จนสำคัญผิดว่าตนเองรู้ถูกต้องมากกว่าพระเณร จนเกิดอหังการ มนังการ ลืมตัวลืมตน จนทำสังฆปรามาส...อริยุวาทตันตราย ทำลายโอกาสดีที่ได้เกิดมาเป็นคนของตนไปเสียสิ้น




พระพุทธเจ้า ทรงตรัสสอนไว้ว่า

ภิกษุทั้งหลาย ! บาปกรรมแม้ประมาณน้อย
บุคคล บางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น นำเขาไปนรกได้

ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว
กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไม่ปรากฏผลมาก ต่อไปเลย…

ภิกษุทั้งหลาย ! ใครกล่าวว่า
คนทำกรรม อย่างใดๆ ย่อมเสวยกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนั้นๆ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีไม่ได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ไม่ปรากฏ

ส่วนใครกล่าวว่า

คนทำกรรม อันจะพึงให้ผล อย่างใดๆ
ย่อมเสวยผลของกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ย่อมปรากฏ.
ติก. อํ. ๒๐/๓๒๐/๕๔๐.




พอคนอื่น แสดงข้อคิดเห็นลงไปบ้าง

ก็เอาละ พฤติกรรมเดิมๆ หาว่า จับผิด

ทีโสกะทำเอง กลับบอกว่า ปรารถนาดี

แล้วชอบบิดเบือนคำพูด ให้เกิดความแตกแยก




asoka เขียน:
walaiporn เขียน:
asoka เขียน:
walaiporn เขียน:


หลักยึดใจที่เอามาพิมพ์บ่อยๆเป็นครั้งที่ ร้อยแล้วกระมัง ก็ยังไม่ชี้ตรง เป(็นเพียงหลักยึดเพื่อให้กำลังใจเท่านั้น

หลักยึดใจพึงควรเป็นหลักปฏิบัติ ที่ชี้ตรงสู่เป้าหมายสูงสุดของชาวพุทธ จึงจะเป็นเครื่องแสดงออกถึงความมุ่งมั่น จริงใจ ที่เรียกว่า "โยนิโสมนสิการ" อย่างแท้จริง....โปรดพิจารณา


อ้างคำพูด:
วลัยพร เชื่อในคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงตรัสไว้ว่า

ภิกษุทั้งหลาย ! บาปกรรมแม้ประมาณน้อย
บุคคล บางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น นำเขาไปนรกได้

ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว
กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไม่ปรากฏผลมาก ต่อไปเลย…

ภิกษุทั้งหลาย ! ใครกล่าวว่า
คนทำกรรม อย่างใดๆ ย่อมเสวยกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนั้นๆ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีไม่ได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ไม่ปรากฏ

ส่วนใครกล่าวว่า

คนทำกรรม อันจะพึงให้ผล อย่างใดๆ
ย่อมเสวยผลของกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ย่อมปรากฏ.
ติก. อํ. ๒๐/๓๒๐/๕๔๐.





โธ่เอ๊ยยย โสกะ ช่างไม่รู้อะไรบ้างเลย

มีการหยิบยก เพื่อเข้าข้างสำบัดสำนวนของตัวเองจนได้นะ โสกะ



ที่วลัยพร หยิบยก มาบ่อยๆน่ะ

เพราะเห็นโสกะ ชอบใช้คำพูดทั้งข่มขู ทั้งสาปแช่งผู้อื่น

จึงหยิบยกคำสอนของพรพุทธเจ้ามาแสดง เพราะเหตุนี้

ว่าอย่าไปสนใจกับคำขู่ลมๆแล้งๆ แม้กระทั่ง คำสาปแช่งของโสกะ

s004
เมื่อมีนิสัยมองโลกในทางลบ คอยจับผิดผู้อื่นอยู่เรื่อย แม้คำอวยพร กรือคำเตือนด้วยความปารถนาดี ก็กลับกลายเห็นเป็นคำสาปแช่ง

ถ้าตนมิได้ทำผิดจะกลัวอะไรกับคำสาปแช่ง แต่ถ้าผิดจริงนั่นแหละพึงกลัว เพราะคำเตือนนั้น เหมือนเป็นการชี้บอกว่า

"กรรมที่เจ้าทำนี้นะ จะไปให้ผลเป็นวิบากอย่างนี้ ๆ ถ้าไม่รีบแก้ไข" ก็จะกลับกลายไปเหมือนคำสาปแช่งในทันที โดยที่ผู้เตือนก็มิได้หมายเป็นการสาปแช่ง แต่ผู้ถูกเตือนทำให้มันเป็นไปเอง

อย่างเรื่ออริยุวาตันตราย ที่โฮฮับทำอยู่เป็นนิจนั่นหนะ เตือนด้วยความหวังดีจริงๆ เพราะเคยพบคนที่ต้องอริยุวาตันตรายมาแล้ว ถึงจะฉลาดแสนฉลาดแต่ ไม่สามารถทำความเข้าใจธรรมะและวิธีปฏิบัติธรรมอันถูกต้องที่พระพุทธเจ้าทรงสอนได้ แม้แต่ชีพจรอันเป็นของง่ายๆยังหาไม่เจอเลย แล้วธรรมะที่ละเอียดอ่อนหรือเป็นนามธรรมจะค้นหาเจอได้อย่างไร

สำหรับวลัยพร ยังไม่พบเห็นเรื่องอริยุวาตันตราย แต่ กำลังเฉียดกลายใกล้เข้าไปแล้ว เพราะความไม่รู้ในอีกหลายเรื่องที่ไม่ค่อยมีบอกไว้ในตำรา แต่มีอยู่ในชีวิตจริง จึงสำคัญผิด เห็นผิด อย่างเรื่องอาการของธรรมส่ง มรรค รับ เป็นต้น จึงวิตกวิจารณ์ และสำคัญผิดครูบาอาจารย์ไป อาจทำให้เกิดปมาทะในใจแต่ยังไม่แสดงออกมา ต้องคอยระวังให้ดี

ศึกษาและสังเกตการณ์ต่อไปเรื่อยๆนะวลัยพร คงจะได้พบอะไรดีๆอีกเยอะ ถ้าไม่ถอยไปเสี่ยก่อน

:b16: :b16: :b16:





ตรงไหน ที่วลัยพร โพสทำนองว่า
"แม้คำอวยพร หรือคำเตือนด้วยความปารถนาดี ก็กลับกลายเห็นเป็นคำสาปแช่ง"


หามาให้ดูทีนะโสกะ อย่าสักแต่ว่าโพส

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2013, 00:04 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


โฮฮับ เขียน:
asoka เขียน:

จริงๆแล้วการค้นหาอนัตตา ไม่ใช่วิธีการของหลวงพ่อหรืออโศกะ แต่เป็นวิธีการของพระบรมศาสดา ที่ทรงสอนไว้ตั้งแต่วันที่ 2 ของการแสดงธรรม

ลองไปทบทวน อนัตตลักขณะสูตรดูดีๆซิครับ หลวงพ่อธีท่านก็เอาเฉพาะสูตรนี้มาจับประเด็นแล้ว ทำให้ง่ายไปสู่วิธีปฏิบัติ อันมีเคล็ดลับให้ท่องจำง่ายๆว่า[/b][/color]

"หา...... เห็น... ตัด..... ถึง"

ตีความให้แตก นำไปสู่การภาวนาให้เป็น ได้เห็นธรรมถึงธรรมแน่ๆ ชาตินี้
:b8:


ถึงได้บอกว่า เอาพระธรรมของพระพุทธองค์มามั่ว ทำพระธรรมผิดเพี้ยน

ในอนัตตลักขณสูตร ท่านไม่ได้ให้ปัญจวัครคีย์หาอนัตตา

แต่พระพุทธองค์ทรงให้ ปัญจวัคคีย์วาง สังขารลงอย่าไปยึดมั่น

พระพุทธองค์บอกเหตุผลไว้ว่า สังขาร มันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา

เมื่อเป็นเช่นนี้ก็ไม่ควรไปยึดมั่นถือมั่น....พระพุทธองค์ไม่ได้ให้หาอนัตตา

ปัญจวัคคีย์เห็นอนัตตาแล้ว แต่เห็นแล้วไม่ปล่อยวาง พระพุทธองค์จึงตรัสให้วางลง


:b34: :b34: :b34:

โฮฮับเอ้ย......ดทำบาปทำกรรมหนักขึ้นทุกทีๆแล้วนะ.....อ้างธรรมก็อ้างมาผิดๆ กล่าวตู่พุทธพจน์ได้อย่างหน้าตาเฉย ดูประโยคที่ีคุณพูดมานี้ให้ดีๆ

พระพุทธองค์บอกเหตุผลไว้ว่า สังขาร มันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา

เทียบดูกับพุทธพจน์ซิ

สัพเพสังขารา อนิจจา
สัพเพสังขารา ทุกขา


สัพเพธัมมา อนัตตา

อ้างคำพูด:
ปัญจวัคคีย์เห็นอนัตตาแล้ว แต่เห็นแล้วไม่ปล่อยวาง พระพุทธองค์จึงตรัสให้วางลง


นี่ก็สู่รู้หรืออวดรู้อีก

คุณโฮฮับไปรู้ได้ยังไงว่าปัญจวัคคีย์เห็นอนัตตาแล้ว มีหลักฐานตรงไหน....ตามธรรม ผู้ที่เห็น(รู้)อนัตตา ก็เห็นธรรม หมดสงสัย ปล่อยวางความเห็นผิดเอง ไม่ต้องไปสอนให้ปล่อยวางอย่างที่โฮฮับว่า อ่านทบทวนอนัตตลักขณสูตรให้ดีๆนะ พระพุทธเจ้ามิได้ทรงสอนให้ปัญจวัคคีย์ปล่อยวาง แต่ทรงชี้เน้นให้เห็นถึงความเป็นอนัตตา ว่าเป็นอย่างไร

แล้วคนอย่างโฮฮับคงหมดโอกาสจริงๆที่จะได้เข้าใจเรื่องของอนัตตา เพราะความรู้ผิด เห็นผิดมันบังตาไว้ตลอด

อนัตตลักขณสูตร พร้อมคำแปล
บทสวด อนัตตลักขณสูตร พร้อมคำแปล

เอวัมเม สุตัง
อันข้าพเจ้า(คือพระอานนทเถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้
เอกัง สะมะยัง ภะคะวา
สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า
พาราณะสิยัง วิหะระติ, อิสิปะตะเน มิคะทะเย
เสด็จประทับอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี
ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคียเย ภิกขู อามันเตสิ
ในกาลนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเตือน พระภิกษุปัญจวัคคีย์(ให้ตั้งใจฟังภาษิตนี้ว่า)

รูปัง ภิกขะเว อนัตตา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย รูป(คือร่างกายนี้) เป็นอนัตตา(มิใช่ตัวตนของเรา)
รูปัญจะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็รูปนี้จักได้เป็นอัตตา(ตัวตนของเรา)แล้ว
นะยิทัง รูปัง อาพาธายะ สังวัตเตยยะ
รูปนี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ(ความลำบาก)
ลัพเภถะ จะ รูเป
อนึ่ง บุคคลพึงได้ในรูปตามใจหวัง
เอวัง เม รูปัง โหตุ เอวัง เม รูปัง มา อโหสีติ
ว่ารูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย
ยัสมา จะ โข ภิกขะเว รูปัง อนัตตา
ภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะเหตุที่รูปนั้นเป็นอนัตตา(มิใช่ตัวตนของเรา)
ตัสมา รูปัง อาพาธายะ สังวัตตะติ
เพราะเหตุนั้น รูปจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ
นะจะ ลัพภะติ รูเป
อนึ่ง บุคคลย่อมไม่ได้ในรูปตามใจหวัง
เอวัง เม รูปัง โหตุ เอวัง เม รูปัง มาอโหสีติ
ว่ารูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด รูปของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย

เวทนา อนัตตา
เวทนา(คือความรู้สึกอารมณ์) เป็นอนัตตา(มิใช่ตัวตนของเรา)
เวทนา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็เวทนานี้จักได้เป็นอัตตา(ตัวตนของเรา)แล้ว
นะยิทัง เวทะนา อาพาธายะ สังวัตเตยยะ
เวทนานี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ(ความลำบาก)
ลัพเภถะ จะ เวทะนายะ
อนึ่ง บุคคลพึงได้ในเวทนาตามใจหวัง
เอวัง เม เวทะนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อโหสีติ
ว่าเวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด เวทนาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย
ยัสมา จะ โข ภิกขะเว เวทะนา อนัตตา
ภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะเหตุที่เวทนานั้นมิใช่ตัวตนของเรา
ตัสมา เวทนา อาพาธายะ สังวัตตะติ
เพราะเหตุนั้น เวทนาจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ
นะจะ ลัพภะติ เวทะนายะ
อนึ่ง บุคคลย่อมไม่ได้ในเวทนาตามใจหวัง
เอวัง เม เวทนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อโหสีติ
ว่าเวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด เวทนาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย

สัญญา อนัตตา
สัญญา(คือความจำ) เป็นอนัตตา(มิใช่ตัวตนของเรา)
สัญญา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็สัญญานี้จักได้เป็นอัตตา(ตัวตนของเรา)แล้ว
นะยิทัง สัญญา อาพาธายะ สังวัตเตยยะ
สัญญานี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ(ความลำบาก)
ลัพเภถะ จะ สัญญายะ
อนึ่ง บุคคลพึงได้ในสัญญาตามใจหวัง
เอวัง เม สัญญา โหตุ เอวัง เม สัญญา มา อโหสีติ
ว่าสัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด สัญญาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย
ยัสมา จ โข ภิกขะเว สัญญา อนัตตา
ภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะเหตุที่สัญญานั้นมิใช่ตัวตนของเรา
ตัสมา สัญญา อาพาธายะ สังวัตตะติ
เพราะเหตุนั้น สัญญาจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ
นะจะ ลัพภะติ สัญญายะ
อนึ่ง บุคคลย่อมไม่ได้ในสัญญาตามใจหวัง
เอวัง เม สัญญา โหตุ เอวัง เม สัญญา มา อโหสีติ
ว่าสัญญาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด สัญญาของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย

สังขารา อนัตตา
สังขารทั้งหลาย(คือสภาพที่เกิดกับใจ ปรุงใจให้ดีบ้าง ชั่วบ้าง) เป็นอนัตตา(มิใช่ตัวตนของเรา)
สังขารา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสังสุ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็สังขารทั้งหลายนี้จักได้เป็นอัตตา(ตัวตนของเรา)แล้ว
นะ ยิทัง สังขารา อาพาธายะ สังวัตเตยยุง
สังขารทั้งหลายนี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ
ลัพเภถะ จะ สังขาเรสุ
อนึ่ง บุคคลพึงได้ในสังขารทั้งหลายตามใจหวัง
เอวัง เม สังขารา โหนตุ เอวัง เม สังขาร มา อเหสุนติ
ว่าสังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย
ยัสมา จะ โข ภิกขะเว สังขารา อนัตตา
ภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะเหตุที่สังขารทั้งหลายนั้นมิใช่ตัวตนของเรา
ตัสมา สังขารา อาพาธายะ สังวัตตันติ
เพราะเหตุนั้น สังขารทั้งหลายจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ
นะ จะ ลัพภะติ สังขาเรสุ
อนึ่ง บุคคลย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายตามใจหวัง
เอวัง เม สังขารา โหนตุ เอวัง เม สังขารา มา อเหสุนติ
ว่าสังขารทั้งหลายของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย

วิญญาณัง อนัตตา
วิญญาณ(คือใจ) เป็นอนัตตา(มิใช่ตัวตนของเรา)
วิญญานัญ จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็วิญญาณนี้จักได้เป็นอัตตา(ตัวตนของเรา)แล้ว
นะยิทัง วิญญาณัง อาพาธายะ สังวัตเตยยะ
วิญญาณนี้ก็ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ
ลัพเภถะ จะ วิญญาเน
อนึ่ง บุคคลพึงได้ในวิญญาณตามใจหวัง
เอวัง เม วิญญานัง โหตุ เอวัง เม วิญญานัง มา อโหสีติ
ว่าวิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย
ยัสมา จะ โข ภิกขะเว วิญญานัง อนัตตา
ภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะเหตุที่วิญญาณนั้นมิใช่ตัวตนของเรา
ตัสมา วิญญาณัง อาพาธายะ สังวัตตะติ
เพราะเหตุนั้น วิญญาณจึงเป็นไปเพื่ออาพาธ
นะ จะ ลัพภะติ วิญญาเน
อนึ่ง บุคคลย่อมไม่ได้ในวิญญาณตามใจหวัง
เอวัง เม วิญญาณัง โหตุ เอวัง เม วิญญาณัง มา อโหสีติ
ว่าวิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด วิญญาณของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย

ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว
ท่านทั้งหลาย ย่อมสำคัญความนั้นเป็นไฉน ภิกษุทั้งหลาย
รูปัง นิจจัง วา อนิจจัง วา ติ
รูปเที่ยง หรือ ไม่เที่ยง
อนิจจัง ภันเต
ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า
ยัมปะนา นิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ
สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า
ทุกขัง ภันเต
เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า
ยัมปะนา นิจจัง ทุกขัง
สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์
วิปะริณา มะธัมมัง
มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา
กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง
ควรหรือ เพื่อจะตามเห็นสิ่งนั้น
เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ
ว่านั้นของเรา เราเป็นนั่นเป็นนี่ นั่นเป็นตนของเรา
โน เหตัง ภันเต
หาอย่างนั้นไม่ พระเจ้าข้า

ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว
ท่านทั้งหลาย ย่อมสำคัญความนั้นเป็นไฉน ภิกษุทั้งหลาย
เวทะนา นิจจา วา อนิจจา วาติ
เวทนาเที่ยง หรือ ไม่เที่ยง
อนิจจา ภันเต
ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า
ยัมปะนา นิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ
สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า
ทุกขัง ภันเต
เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า
ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง
สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์
วิปะริณามะธัมมัง
มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา
กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง
ควรหรือ เพื่อจะตามเห็นสิ่งนั้น
เอตัง มะมะ เอโส หะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ
ว่านั้นของเรา เราเป็นนั่นเป็นนี่ นั่นเป็นตนของเรา
โน เหตัง ภันเต
หาอย่างนั้นไม่ พระเจ้าข้า

ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว
ท่านทั้งหลาย ย่อมสำคัญความนั้นเป็นไฉน ภิกษุทั้งหลาย
สัญญา นิจจา วา อนิจจา วาติ
สัญญาเที่ยง หรือ ไม่เที่ยง
อนิจจา ภันเต
ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า
ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ
สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า
ทุกขัง ภัน เต
เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า
ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง
สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์
วิปะริณามะธัมมัง
มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา
กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง
ควรหรือ เพื่อจะตามเห็นสิ่งนั้น
เอตัง มะมะ เอโส หะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ
ว่านั้นของเรา เราเป็นนั่นเป็นนี่ นั่นเป็นตนของเรา
โน เหตัง ภันเต
หาอย่างนั้นไม่ พระเจ้าข้า


ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว
ท่านทั้งหลาย ย่อมสำคัญความนั้นเป็นไฉน ภิกษุทั้งหลาย
สังขารา นิจจา วา อนิจจา วาติ
สังขารทั้งหลายเที่ยง หรือ ไม่เที่ยง
อนิจจา ภันเต
ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า
ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ
สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า
ทุกขัง ภันเต
เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า
ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง
สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์
วิปะริณามะธัมมัง
มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา
กัลลังนุตัง สะมะนุปัสสิตุง
ควรหรือ เพื่อจะตามเห็นสิ่งนั้น
เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ
ว่านั้นของเรา เราเป็นนั่นเป็นนี่ นั่นเป็นตนของเรา
โน เหตัง ภันเต
หาอย่างนั้นไม่ พระเจ้าข้า

ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว
ท่านทั้งหลาย ย่อมสำคัญความนั้นเป็นไฉน ภิกษุทั้งหลาย
วิญญาณัง นิจจังวา อนิจจัง วาติ
วิญญาณเที่ยง หรือ ไม่เที่ยง
อนิจจัง ภันเต
ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า
ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ
สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า
ทุกขัง ภันเต
เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า
ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง
สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์
วิปะริณามะธัมมัง
มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา
กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง
[color=#FF0080]ควรหรือ เพื่อจะตามเห็นสิ่งนั้น
เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เมอัตตาติ
ว่านั้นของเรา เราเป็นนั่นเป็นนี่ นั่นเป็นตนของเรา
โน เหตัง ภันเต
หาอย่างนั้นไม่ พระเจ้าข้า
[/color]

ตัสมาติหะ ภิกขะเว
เพราะเหตุนั้นแล ภิกษุทั้งหลาย
ยังกิญจิ รูปัง
รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง
อตีตานาคะตะปัจจุปันนัง
ที่เป็นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบันก็ดี
อัชฌัตตัง วาพหิทธา วา
ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี
โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา
หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี
หีนัง วา ปณีตัง วา
เลวก็ดี ประณีตก็ดี
ยันทูเร สันติเก วา
อันใด มีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้ก็ดี
สัพพัง รูปัง
รูปทั้งหมด ก็เป็นสักว่ารูป
เนตัง มะมะ
นั่นไม่ใช่ของเรา
เนโสหะมัสมิ
เราไม่เป็นนั่นเป็นนี่
นะ เมโส อัตตาติ
นั่นไม่ใช่ตนของเรา ดังนี้
เอวะ เมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง
ข้อนี้อันท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้วอย่างนี้

ยากาจิ เวทะนา
เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง
อตีตานาคะตะปัจจุปปันนา
ที่เป็นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบันก็ดี
อัชฌัตตา วา พหิทธา วา
ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี
โอฬาริกา วา สุขุมา วา
หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี
หีนา วา ปณีตา วา
เลวก็ดี ประณีตก็ดี
ยันทูเร สันติเก วา
อันใด มีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้ก็ดี
สัพพา เวทะนา
เวทนาทั้งหมด ก็เป็นสักว่าเวทนา
เนตัง มะมะ
นั่นไม่ใช่ของเรา
เนโสหะมัสมิ
เราไม่เป็นนั่นเป็นนี่
นะ เมโส อัตตาติ
นั่นไม่ใช่ตนของเรา ดังนี้
เอวะ เมตัง ยะถา ภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง
ข้อนี้อันท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้วอย่างนี้

ยากาจิ สัญญา
สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง
อตีตานาคะตะปัจจุปปันนา
ที่เป็นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบันก็ดี
อัชฌัตตา วา พหิทธา วา
ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี
โอฬาริกา วา สุขุมา วา
หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี
หีนา วา ปณีตา วา
เลวก็ดี ประณีตก็ดี
ยันทูเร สันติเก วา
อันใด มีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้ก็ดี
สัพพา สัญญา
สัญญาทั้งหมด ก็เป็นสักว่าสัญญา
เนตัง มะมะ
นั่นไม่ใช่ของเรา
เนโสหะมัสมิ
เราไม่เป็นนั่นเป็นนี่
นะ เมโส อัตตาติ
นั่นไม่ใช่ตนของเรา ดังนี้
เอวะ เมตัง ยะถา ภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง
ข้อนี้อันท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้วอย่างนั้น

เยเกจิ สังขารา
สังขารทั้งหลายอย่างใดอย่างหนึ่ง
อตีตานาคะตะปัจจุปปันนา
ที่เป็นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบันก็ดี
อัชฌัตตา วา พหิทธา วา
ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี
โอฬาริกา วา สุขุมา วา
หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี
หีนา วา ปณีตา วา
เลวก็ดี ประณีตก็ดี
เยทูเร สันติเก วา
อันใด มีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้ก็ดี
สัพเพ สังขารา
สังขารทั้งหลายทั้งหมด ก็เป็นสักว่าสังขาร
เนตัง มะมะ
นั่นไม่ใช่ของเรา
เนโสหะมัสมิ
เราไม่เป็นนั่นเป็นนี่
นะ เมโส อัตตาติ
นั่นไม่ใช่ตนของเรา ดังนี้
เอวะ เมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง
ข้อนี้อันท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้วอย่างนั้น

ยังกิญจิ วิญญาณัง
วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่ง
อตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง
ที่เป็นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบันก็ดี
อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา
ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี
โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา
หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี
หีนัง วา ปณีตัง วา
เลวก็ดี ประณีตก็ดี
ยันทูเร สันติเก วา
อันใด มีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้ก็ดี
สัพพัง วิญญาณัง
วิญญาณทั้งหมด ก็เป็นสักว่าวิญญาณ
เนตัง มะมะ
นั่นไม่ใช่ของเรา
เนโสหะมัสมิ
เราไม่เป็นนั่นเป็นนี่
นะ เมโส อัตตาติ
นั่นไม่ใช่ตนของเรา ดังนี้
เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง
ข้อนี้อันท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงแล้วอย่างนั้นดังนี้

เอวัง ปัสสัง ภิกขะเว สุตตะวา อะริยะสาวะโก
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้วเห็นอยู่อย่างนี้
รูปัสสะมิงปิ นิพพินทะติ
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในรูป
เวทะนายะปิ นิพพินนะติ
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในเวทนา
สัญญายะปิ นิพพินทะติ
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในสัญญา
สังขาเรสุปิ นิพพินทะติ
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในสังขารทั้งหลาย
วิญญานัสมิงปิ นิพพินทะติ
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในวิญญาณ
นิพพินทัง วิรัชชะติ
เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายความติด
วิราคา วิมุจจะติ
เพราะคลายความติด จิตก็พ้น
วิมุตตัสมิง วิมุตตะมีติ ญาณัง โหติ
เมื่อจิตพ้นแล้ว ก็เกิดญาณรู้ว่าพ้นแล้ว ดั่งนี้
ขีณา ชาติ. วุสิตัง พรัหมจริยัง กะตัง กะระณียัง นาปะรัง อิตถัตตายาติ ปะชานาตีติ
อริย สาวกนั้น ย่อมทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์เราได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำเราได้ทำเสร็จแล้ว
กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี


อิทะมะโวจะ ภะคะวา
พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสพระสูตรนี้จบลง
อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู
พระภิกษุปัญจวัคคีก็มีใจยินดี
ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง
เพลิดเพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจัา
อิมัสสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิง ภัญญะมาเน
ก็แลเมื่อเวยยากรณ์นี้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอยู่
ปัญจะวัคคิยานัง ภิกขูนัง อะนุปาทายะ อาสะเวหิ จิตตานิ วิมุตจิงสูติ
จิตของพระภิกษุปัญจวัคคีย์พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย ไม่ถือมั่นด้วยอุปาทานแล


จบ อนัตตลักขณสูตร
:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2013, 10:43 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:

โฮฮับเอ้ย......ดทำบาปทำกรรมหนักขึ้นทุกทีๆแล้วนะ.....อ้างธรรมก็อ้างมาผิดๆ กล่าวตู่พุทธพจน์ได้อย่างหน้าตาเฉย ดูประโยคที่ีคุณพูดมานี้ให้ดีๆ
ตา เพราะความรู้ผิด เห็นผิดมันบังตาไว้ตลอด


โสกะที่ผมว่าคุณ...มือถือสาก ปากถือศีล มันเป็นจริงมั้ยล่ะ
พูดคำแช่งสองคำ เลอะเทอะจริง :b32:


asoka เขียน:


พระพุทธองค์บอกเหตุผลไว้ว่า สังขาร มันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา

เทียบดูกับพุทธพจน์ซิ

สัพเพสังขารา อนิจจา
สัพเพสังขารา ทุกขา


สัพเพธัมมา อนัตตา


สักแต่ว่าอ่านไม่เข้าเรื่องเข้าราว......สัมเพธัมมา อนัตตาหมายรวมทั้งสมมติและปรมัตถ์

สังขารก็เป็นอนัตตา สมมติก็เป็นอนัตตา

ความต่างของปรมัตถ์และสมมติ ก็คือ สังขารไม่เที่ยง เป็นทุกข์ อนัตตา
แต่สมมติเป็น....อนัตตาเพียงอย่างเดียว

ดังนั้นความเหมือนของสมมติและปรมัตถ์ก็คือ....อนัตตา :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2013, 10:56 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
อ้างคำพูด:
ปัญจวัคคีย์เห็นอนัตตาแล้ว แต่เห็นแล้วไม่ปล่อยวาง พระพุทธองค์จึงตรัสให้วางลง


นี่ก็สู่รู้หรืออวดรู้อีก

คุณโฮฮับไปรู้ได้ยังไงว่าปัญจวัคคีย์เห็นอนัตตาแล้ว มีหลักฐานตรงไหน....ตามธรรม ผู้ที่เห็น(รู้)อนัตตา ก็เห็นธรรม หมดสงสัย ปล่อยวางความเห็นผิดเอง ไม่ต้องไปสอนให้ปล่อยวางอย่างที่โฮฮับว่า อ่านทบทวนอนัตตลักขณสูตรให้ดีๆนะ พระพุทธเจ้ามิได้ทรงสอนให้ปัญจวัคคีย์ปล่อยวาง แต่ทรงชี้เน้นให้เห็นถึงความเป็นอนัตตา ว่าเป็นอย่างไร

แล้วคนอย่างโฮฮับคงหมดโอกาสจริงๆที่จะได้เข้าใจเรื่องของอนัตตา เพราะความรู้ผิด เห็นผิดมันบังตาไว้ตลอด


ปัญจวัคคีย์ เกิดปัญญาดวงตาเห็นธรรมเมื่อครั้งได้ฟัง...ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร
เห็นธรรมอย่างไร ก็คือเห็นความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาของสังขารแล้ว
เหตุนี้ปัญจวัคคีย์ได้ชื่อว่าเป็นพระอริยบุคคล

และพุทธวจนที่ทรงสอนให้ปัญจวัคคีย์ปล่อยวาง อนัตตา
นั้นก็คือปล่อยวางสังขารอย่าไปยึดมั่นถือมั่น.....ตามพระสูตรนี้....

อนัตตลักขณสูตร.......

ตรัสถามความเห็นของพระปัญจวัคคีย์
[๒๑] พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่าดูกรภิกษุทั้งหลายพวกเธอสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน
รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
พระปัญจวัคคีย์ทูลว่า ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.

ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดาควรหรือจะตามเห็นสิ่ง
นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้น ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.

ภ. เวทนาเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่ง
นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. สัญญาเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้น
ว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. สังขารทั้งหลายเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่ง
นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. วิญญาณเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่ง
นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.


http://www.84000.org/tipitaka/pitaka1/v ... agebreak=0

ดูการถามตอบของพระพุทธองค์กับปัญจวัคีย์ พระพุทธถามอย่างไร
และปัญจวัคคีย์ ตอบพุทธองค์อย่างไร

ปล. กรุณาอ่านไปพิจารณาไป อย่าดูแต่ตัวอักษร และต้องอ่านให้หมด
เอาลิ้งมาวางให้แล้ว :b13:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2013, 17:40 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว




100_3959_resize_resize.JPG
100_3959_resize_resize.JPG [ 72.64 KiB | เปิดดู 3056 ครั้ง ]
walaiporn เขียน:
นี่คือ สิ่งที่ โสกะ ชอบกระทำเนืองๆ



walaiporn เขียน:
ความเนียนของกิเลส


ชอบแช่ง



asoka เขียน:

นรกกินหัวโฮฮับเสียแล้ว ด้วยความอหังการ มนังการ ทำปรามาส ปราศจาก หิริโอตัปปะ




ชอบเหน็บแนม ทั้งๆที่ ไม่ใช่ตามความเป็นจริง

asoka เขียน:

โฮฮับหมดค่าแล้วในสายตาของผู้รู้ กู่อย่างไรคงไม่กลับเพราะหลงตัวตนและหลงทางดังนักพรตทั้งหลายยากไถ่ถอน




asoka เขียน:

มากพอแล้วความเห็นของโฮฮับ ต่อจากนี้ไปควรทำความสงบอกสงบใจ ขันติ อดทนต่อถ้อยคำ สำรวมกิริยาวาจา ตั้งหน้าพิจารณาข้อธรรมที่จะแสดงต่อไปด้วยใจเคารพ เพื่อจะให้เกิดประโยชน์กับหมู่ชนทุกฝ่าย นะโฮฮับนะ.....ทำตัวเป็นเด็กดีเสียบ้างนะ อย่าได้ทำตัวเป็นผู้ขวางโลก ขวางธรรมอย่างที่ทำอยู่ทุกวันนี้ ต่อไปอีก บาปกรรมมันจะหนักขึ้นไปเรื่อยๆจนแผ่นดินนี้รองรับไว้ไม่ไหวนะ ดูตัวอย่างพระเทวทัตนั่นให้ดีๆ



พระพุทธเจ้า ทรงทำนายพระเทวทัติ ไว้ว่าอย่างไร ช่างไม่รู้อะไร ซะบ้างเลย

ไปพูดแบบนั้น อีกหน่อย คนจทำเลียนแบบพระเทวทัติมากขึ้น

เพราะอยากเป็นดังคำที่พระพุทธเจ้า ทรงทำนายพระเทวทัติไว้

หรือว่า อโสกะ คิดจะทำแบบนั้นอยู่ :b32:





ชอบข่มขู่ ทั้งๆที่ คำที่นำมาขู่นั้น ขัดกับคำสอนของพระพุทธเจ้า

เรียกว่า มีสภาวะสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และ สีลัพพตปรามาส เต็มตัว


asoka เขียน:

อย่ามัวงมโข่งอยู่กับตำรา และอัตตา มานะทิฏฐิ จนสำคัญผิดว่าตนเองรู้ถูกต้องมากกว่าพระเณร จนเกิดอหังการ มนังการ ลืมตัวลืมตน จนทำสังฆปรามาส...อริยุวาทตันตราย ทำลายโอกาสดีที่ได้เกิดมาเป็นคนของตนไปเสียสิ้น




พระพุทธเจ้า ทรงตรัสสอนไว้ว่า

ภิกษุทั้งหลาย ! บาปกรรมแม้ประมาณน้อย
บุคคล บางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น นำเขาไปนรกได้

ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว
กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไม่ปรากฏผลมาก ต่อไปเลย…

ภิกษุทั้งหลาย ! ใครกล่าวว่า
คนทำกรรม อย่างใดๆ ย่อมเสวยกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนั้นๆ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีไม่ได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ไม่ปรากฏ

ส่วนใครกล่าวว่า

คนทำกรรม อันจะพึงให้ผล อย่างใดๆ
ย่อมเสวยผลของกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ย่อมปรากฏ.
ติก. อํ. ๒๐/๓๒๐/๕๔๐.




พอคนอื่น แสดงข้อคิดเห็นลงไปบ้าง

ก็เอาละ พฤติกรรมเดิมๆ หาว่า จับผิด

ทีโสกะทำเอง กลับบอกว่า ปรารถนาดี

แล้วชอบบิดเบือนคำพูด ให้เกิดความแตกแยก




asoka เขียน:
walaiporn เขียน:
asoka เขียน:
walaiporn เขียน:


หลักยึดใจที่เอามาพิมพ์บ่อยๆเป็นครั้งที่ ร้อยแล้วกระมัง ก็ยังไม่ชี้ตรง เป(็นเพียงหลักยึดเพื่อให้กำลังใจเท่านั้น

หลักยึดใจพึงควรเป็นหลักปฏิบัติ ที่ชี้ตรงสู่เป้าหมายสูงสุดของชาวพุทธ จึงจะเป็นเครื่องแสดงออกถึงความมุ่งมั่น จริงใจ ที่เรียกว่า "โยนิโสมนสิการ" อย่างแท้จริง....โปรดพิจารณา


อ้างคำพูด:
วลัยพร เชื่อในคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงตรัสไว้ว่า

ภิกษุทั้งหลาย ! บาปกรรมแม้ประมาณน้อย
บุคคล บางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น นำเขาไปนรกได้

ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว
กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไม่ปรากฏผลมาก ต่อไปเลย…

ภิกษุทั้งหลาย ! ใครกล่าวว่า
คนทำกรรม อย่างใดๆ ย่อมเสวยกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนั้นๆ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีไม่ได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ไม่ปรากฏ

ส่วนใครกล่าวว่า

คนทำกรรม อันจะพึงให้ผล อย่างใดๆ
ย่อมเสวยผลของกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ย่อมปรากฏ.
ติก. อํ. ๒๐/๓๒๐/๕๔๐.





โธ่เอ๊ยยย โสกะ ช่างไม่รู้อะไรบ้างเลย

มีการหยิบยก เพื่อเข้าข้างสำบัดสำนวนของตัวเองจนได้นะ โสกะ



ที่วลัยพร หยิบยก มาบ่อยๆน่ะ

เพราะเห็นโสกะ ชอบใช้คำพูดทั้งข่มขู ทั้งสาปแช่งผู้อื่น

จึงหยิบยกคำสอนของพรพุทธเจ้ามาแสดง เพราะเหตุนี้

ว่าอย่าไปสนใจกับคำขู่ลมๆแล้งๆ แม้กระทั่ง คำสาปแช่งของโสกะ

s004
เมื่อมีนิสัยมองโลกในทางลบ คอยจับผิดผู้อื่นอยู่เรื่อย แม้คำอวยพร กรือคำเตือนด้วยความปารถนาดี ก็กลับกลายเห็นเป็นคำสาปแช่ง

ถ้าตนมิได้ทำผิดจะกลัวอะไรกับคำสาปแช่ง แต่ถ้าผิดจริงนั่นแหละพึงกลัว เพราะคำเตือนนั้น เหมือนเป็นการชี้บอกว่า

"กรรมที่เจ้าทำนี้นะ จะไปให้ผลเป็นวิบากอย่างนี้ ๆ ถ้าไม่รีบแก้ไข" ก็จะกลับกลายไปเหมือนคำสาปแช่งในทันที โดยที่ผู้เตือนก็มิได้หมายเป็นการสาปแช่ง แต่ผู้ถูกเตือนทำให้มันเป็นไปเอง

อย่างเรื่ออริยุวาตันตราย ที่โฮฮับทำอยู่เป็นนิจนั่นหนะ เตือนด้วยความหวังดีจริงๆ เพราะเคยพบคนที่ต้องอริยุวาตันตรายมาแล้ว ถึงจะฉลาดแสนฉลาดแต่ ไม่สามารถทำความเข้าใจธรรมะและวิธีปฏิบัติธรรมอันถูกต้องที่พระพุทธเจ้าทรงสอนได้ แม้แต่ชีพจรอันเป็นของง่ายๆยังหาไม่เจอเลย แล้วธรรมะที่ละเอียดอ่อนหรือเป็นนามธรรมจะค้นหาเจอได้อย่างไร

สำหรับวลัยพร ยังไม่พบเห็นเรื่องอริยุวาตันตราย แต่ กำลังเฉียดกลายใกล้เข้าไปแล้ว เพราะความไม่รู้ในอีกหลายเรื่องที่ไม่ค่อยมีบอกไว้ในตำรา แต่มีอยู่ในชีวิตจริง จึงสำคัญผิด เห็นผิด อย่างเรื่องอาการของธรรมส่ง มรรค รับ เป็นต้น จึงวิตกวิจารณ์ และสำคัญผิดครูบาอาจารย์ไป อาจทำให้เกิดปมาทะในใจแต่ยังไม่แสดงออกมา ต้องคอยระวังให้ดี

ศึกษาและสังเกตการณ์ต่อไปเรื่อยๆนะวลัยพร คงจะได้พบอะไรดีๆอีกเยอะ ถ้าไม่ถอยไปเสี่ยก่อน

:b16: :b16: :b16:





ตรงไหน ที่วลัยพร โพสทำนองว่า
"แม้คำอวยพร หรือคำเตือนด้วยความปารถนาดี ก็กลับกลายเห็นเป็นคำสาปแช่ง"


หามาให้ดูทีนะโสกะ อย่าสักแต่ว่าโพส

:b39:
ดูข้อความที่วลัยพรชอบอ้างท่อนนี้ให้ดีนะ

ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว
กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไม่ปรากฏผลมาก ต่อไปเลย


:b11:

มีบางคนเกิดมาเพื่อจะสอนโลก กรรมของเขาจะสนองผลเร็วแต่จะเป็นอย่างข้อความที่ยกมา
เพราะชาตินี้เป็นโอกาสสุดท้ายที่วิบากรรมต่างๆจะตามมาให้ผลทัน ล่วงเลยจากนั้นไปแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างเป็น อโหสิกรรม

ดังเช่นวลัยพร โฮฮับ กรัชกาย Amazinng student ปล่อยรู้ และอีกหลายท่าน เราได้เกี่ยวข้องผูกพัน ทำกรรมต่อกันมาทั้งลบและบวก นับชาติไม่ถ้วนแล้ว

ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายที่เราจะได้พบเจอกัน จึงต้องตีกันหนักๆบ้าง ประคับประคองปลอบใจกันบ้าง ปฏิบัติเป็นกลางๆต่อกันไปบ้างเพื่อให้คู่กรรมได้รู้ตัว ตื่นขึ้นเอาตัวเอาใจออกพ้นจากวังวนแห่งวัฏฏะอันไม่รู้สิ้นสุดนี้เสียที

อโหสิกรรมให้ทุกคนเสมอ อนุโมทนาบุญกับทุกท่านไม่สร่างซา ขอให้ได้พ้นจากโมหะ อวิชชา ได้ดวงตาเห็นธรรมกันทันในชาตินี้ทุกคนเทอญ

:b8: :b8: :b8:
:b4: :b4: :b4:
:b11: :b11: :b11:
:b38:
:b37:
:b36:
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 20 ธ.ค. 2013, 22:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 02 ก.ค. 2006, 22:20
โพสต์: 5976

โฮมเพจ: http://walaiblog.blogspot.com/
แนวปฏิบัติ: กายคตาสติ
อายุ: 0
ที่อยู่: สมุทรปราการ

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
walaiporn เขียน:
นี่คือ สิ่งที่ โสกะ ชอบกระทำเนืองๆ



walaiporn เขียน:
ความเนียนของกิเลส


ชอบแช่ง



asoka เขียน:

นรกกินหัวโฮฮับเสียแล้ว ด้วยความอหังการ มนังการ ทำปรามาส ปราศจาก หิริโอตัปปะ




ชอบเหน็บแนม ทั้งๆที่ ไม่ใช่ตามความเป็นจริง

asoka เขียน:

โฮฮับหมดค่าแล้วในสายตาของผู้รู้ กู่อย่างไรคงไม่กลับเพราะหลงตัวตนและหลงทางดังนักพรตทั้งหลายยากไถ่ถอน




asoka เขียน:

มากพอแล้วความเห็นของโฮฮับ ต่อจากนี้ไปควรทำความสงบอกสงบใจ ขันติ อดทนต่อถ้อยคำ สำรวมกิริยาวาจา ตั้งหน้าพิจารณาข้อธรรมที่จะแสดงต่อไปด้วยใจเคารพ เพื่อจะให้เกิดประโยชน์กับหมู่ชนทุกฝ่าย นะโฮฮับนะ.....ทำตัวเป็นเด็กดีเสียบ้างนะ อย่าได้ทำตัวเป็นผู้ขวางโลก ขวางธรรมอย่างที่ทำอยู่ทุกวันนี้ ต่อไปอีก บาปกรรมมันจะหนักขึ้นไปเรื่อยๆจนแผ่นดินนี้รองรับไว้ไม่ไหวนะ ดูตัวอย่างพระเทวทัตนั่นให้ดีๆ



พระพุทธเจ้า ทรงทำนายพระเทวทัติ ไว้ว่าอย่างไร ช่างไม่รู้อะไร ซะบ้างเลย

ไปพูดแบบนั้น อีกหน่อย คนจทำเลียนแบบพระเทวทัติมากขึ้น

เพราะอยากเป็นดังคำที่พระพุทธเจ้า ทรงทำนายพระเทวทัติไว้

หรือว่า อโสกะ คิดจะทำแบบนั้นอยู่ :b32:





ชอบข่มขู่ ทั้งๆที่ คำที่นำมาขู่นั้น ขัดกับคำสอนของพระพุทธเจ้า

เรียกว่า มีสภาวะสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และ สีลัพพตปรามาส เต็มตัว


asoka เขียน:

อย่ามัวงมโข่งอยู่กับตำรา และอัตตา มานะทิฏฐิ จนสำคัญผิดว่าตนเองรู้ถูกต้องมากกว่าพระเณร จนเกิดอหังการ มนังการ ลืมตัวลืมตน จนทำสังฆปรามาส...อริยุวาทตันตราย ทำลายโอกาสดีที่ได้เกิดมาเป็นคนของตนไปเสียสิ้น




พระพุทธเจ้า ทรงตรัสสอนไว้ว่า

ภิกษุทั้งหลาย ! บาปกรรมแม้ประมาณน้อย
บุคคล บางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น นำเขาไปนรกได้

ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว
กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไม่ปรากฏผลมาก ต่อไปเลย…

ภิกษุทั้งหลาย ! ใครกล่าวว่า
คนทำกรรม อย่างใดๆ ย่อมเสวยกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนั้นๆ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีไม่ได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ไม่ปรากฏ

ส่วนใครกล่าวว่า

คนทำกรรม อันจะพึงให้ผล อย่างใดๆ
ย่อมเสวยผลของกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ย่อมปรากฏ.
ติก. อํ. ๒๐/๓๒๐/๕๔๐.




พอคนอื่น แสดงข้อคิดเห็นลงไปบ้าง

ก็เอาละ พฤติกรรมเดิมๆ หาว่า จับผิด

ทีโสกะทำเอง กลับบอกว่า ปรารถนาดี

แล้วชอบบิดเบือนคำพูด ให้เกิดความแตกแยก




asoka เขียน:
walaiporn เขียน:
asoka เขียน:
walaiporn เขียน:


หลักยึดใจที่เอามาพิมพ์บ่อยๆเป็นครั้งที่ ร้อยแล้วกระมัง ก็ยังไม่ชี้ตรง เป(็นเพียงหลักยึดเพื่อให้กำลังใจเท่านั้น

หลักยึดใจพึงควรเป็นหลักปฏิบัติ ที่ชี้ตรงสู่เป้าหมายสูงสุดของชาวพุทธ จึงจะเป็นเครื่องแสดงออกถึงความมุ่งมั่น จริงใจ ที่เรียกว่า "โยนิโสมนสิการ" อย่างแท้จริง....โปรดพิจารณา


อ้างคำพูด:
วลัยพร เชื่อในคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ทรงตรัสไว้ว่า

ภิกษุทั้งหลาย ! บาปกรรมแม้ประมาณน้อย
บุคคล บางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น นำเขาไปนรกได้

ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว
กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไม่ปรากฏผลมาก ต่อไปเลย…

ภิกษุทั้งหลาย ! ใครกล่าวว่า
คนทำกรรม อย่างใดๆ ย่อมเสวยกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนั้นๆ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีไม่ได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ไม่ปรากฏ

ส่วนใครกล่าวว่า

คนทำกรรม อันจะพึงให้ผล อย่างใดๆ
ย่อมเสวยผลของกรรมนั้นอย่างนั้นๆ ดังนี้

เมื่อเป็นอย่างนี้ การอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้
ช่องทางที่จะทำที่สุดทุกข์โดยชอบก็ย่อมปรากฏ.
ติก. อํ. ๒๐/๓๒๐/๕๔๐.





โธ่เอ๊ยยย โสกะ ช่างไม่รู้อะไรบ้างเลย

มีการหยิบยก เพื่อเข้าข้างสำบัดสำนวนของตัวเองจนได้นะ โสกะ



ที่วลัยพร หยิบยก มาบ่อยๆน่ะ

เพราะเห็นโสกะ ชอบใช้คำพูดทั้งข่มขู ทั้งสาปแช่งผู้อื่น

จึงหยิบยกคำสอนของพรพุทธเจ้ามาแสดง เพราะเหตุนี้

ว่าอย่าไปสนใจกับคำขู่ลมๆแล้งๆ แม้กระทั่ง คำสาปแช่งของโสกะ

s004
เมื่อมีนิสัยมองโลกในทางลบ คอยจับผิดผู้อื่นอยู่เรื่อย แม้คำอวยพร กรือคำเตือนด้วยความปารถนาดี ก็กลับกลายเห็นเป็นคำสาปแช่ง

ถ้าตนมิได้ทำผิดจะกลัวอะไรกับคำสาปแช่ง แต่ถ้าผิดจริงนั่นแหละพึงกลัว เพราะคำเตือนนั้น เหมือนเป็นการชี้บอกว่า

"กรรมที่เจ้าทำนี้นะ จะไปให้ผลเป็นวิบากอย่างนี้ ๆ ถ้าไม่รีบแก้ไข" ก็จะกลับกลายไปเหมือนคำสาปแช่งในทันที โดยที่ผู้เตือนก็มิได้หมายเป็นการสาปแช่ง แต่ผู้ถูกเตือนทำให้มันเป็นไปเอง

อย่างเรื่ออริยุวาตันตราย ที่โฮฮับทำอยู่เป็นนิจนั่นหนะ เตือนด้วยความหวังดีจริงๆ เพราะเคยพบคนที่ต้องอริยุวาตันตรายมาแล้ว ถึงจะฉลาดแสนฉลาดแต่ ไม่สามารถทำความเข้าใจธรรมะและวิธีปฏิบัติธรรมอันถูกต้องที่พระพุทธเจ้าทรงสอนได้ แม้แต่ชีพจรอันเป็นของง่ายๆยังหาไม่เจอเลย แล้วธรรมะที่ละเอียดอ่อนหรือเป็นนามธรรมจะค้นหาเจอได้อย่างไร

สำหรับวลัยพร ยังไม่พบเห็นเรื่องอริยุวาตันตราย แต่ กำลังเฉียดกลายใกล้เข้าไปแล้ว เพราะความไม่รู้ในอีกหลายเรื่องที่ไม่ค่อยมีบอกไว้ในตำรา แต่มีอยู่ในชีวิตจริง จึงสำคัญผิด เห็นผิด อย่างเรื่องอาการของธรรมส่ง มรรค รับ เป็นต้น จึงวิตกวิจารณ์ และสำคัญผิดครูบาอาจารย์ไป อาจทำให้เกิดปมาทะในใจแต่ยังไม่แสดงออกมา ต้องคอยระวังให้ดี

ศึกษาและสังเกตการณ์ต่อไปเรื่อยๆนะวลัยพร คงจะได้พบอะไรดีๆอีกเยอะ ถ้าไม่ถอยไปเสี่ยก่อน

:b16: :b16: :b16:





ตรงไหน ที่วลัยพร โพสทำนองว่า
"แม้คำอวยพร หรือคำเตือนด้วยความปารถนาดี ก็กลับกลายเห็นเป็นคำสาปแช่ง"


หามาให้ดูทีนะโสกะ อย่าสักแต่ว่าโพส

:b39:
ดูข้อความที่วลัยพรชอบอ้างท่อนนี้ให้ดีนะ

ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว
กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไม่ปรากฏผลมาก ต่อไปเลย


:b11:

มีบางคนเกิดมาเพื่อจะสอนโลก กรรมของเขาจะสนองผลเร็วแต่จะเป็นอย่างข้อความที่ยกมา
เพราะชาตินี้เป็นโอกาสสุดท้ายที่วิบากรรมต่างๆจะตามมาให้ผลทัน ล่วงเลยจากนั้นไปแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างเป็น อโหสิกรรม

ดังเช่นวลัยพร โฮฮับ กรัชกาย Amazinng student ปล่อยรู้ และอีกหลายท่าน เราได้เกี่ยวข้องผูกพัน ทำกรรมต่อกันมาทั้งลบและบวก นับชาติไม่ถ้วนแล้ว

ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายที่เราจะได้พบเจอกัน จึงต้องตีกันหนักๆบ้าง ประคับประคองปลอบใจกันบ้าง ปฏิบัติเป็นกลางๆต่อกันไปบ้างเพื่อให้คู่กรรมได้รู้ตัว ตื่นขึ้นเอาตัวเอาใจออกพ้นจากวังวนแห่งวัฏฏะอันไม่รู้สิ้นสุดนี้เสียที

อโหสิกรรมให้ทุกคนเสมอ อนุโมทนาบุญกับทุกท่านไม่สร่างซา ขอให้ได้พ้นจากโมหะ อวิชชา ได้ดวงตาเห็นธรรมกันทันในชาตินี้ทุกคนเทอญ

:b8: :b8: :b8:
:b4: :b4: :b4:
:b11: :b11: :b11:
:b38:
:b37:
:b36:




เรื่อง กรรม โสกะ ควรศึกษาให้มากนะ

หาศึกษาได้ใน พุทธวจนะ และพระไตรปิฎก

ถ้ารู้ชัดในเรื่อง ผัสสะ จะรู้ชัดในเรื่อง กรรม

จะเลิกกล่าวคำทำนองนี้



"มีบางคนเกิดมาเพื่อจะสอนโลก กรรมของเขาจะสนองผลเร็วแต่จะเป็นอย่าง"


เพราะ ไม่ได้เป็นไปตามที่โสกะ คาดเดาเอาเอง


กรรมในอดีต ไม่รู้กี่ภพกี่ชาติที่ทำไว้

ส่งผลมาให้รับ ในรูปของผัสสะ ที่เกิดขึ้น ทุกๆขณะ ในชีวิต



เหตุของอวิชชา ที่มีอยู่

เป็นเหตุให้ ไม่รู้ชัดในผัสสะที่เกิดขึ้นว่า


ในแต่ละขณะผัสสะที่เกิดขึ้น ทำไม ความรู้สึกนึกคิดที่เกิดขึ้น ในแต่ละขณะ จึงไม่เหมือนกัน

เมื่อไม่รู้ จึงหลงสร้างเหตุต่อไป แทนที่จะหยุดการสร้างเหตุใหม่


ส่วนคำกล่าวทำนองว่า

"มีบางคนเกิดมาเพื่อสอนโลก"

นี่อีก โสกะ คาดเดาเอาเอง

เหตุของอวิชชา ที่มีอยู่ จึงไม่รู้ชัดในผัสสะที่เกิดขึ้น

ทำให้ไม่เห็นตามความเป็นจริง ของสภาวะที่เกิดขึ้น คือ

ทุกสรรพสิ่ง ล้วนเป็นไปตามเหตุปัจจัยที่มีอยู่ และ ที่กำลังสร้างให้เกิดขึ้นใหม่
เกิดจาก ผัสสะ เป็นเหตุปัจจัย

ทุกสรรพสิ่ง เกิด-ดับ ตามเหตุปัจจัย

หากเราไม่นำ ความมีตัวตน เข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เกิดขึ้น

เมื่อนำความมีตัวตนที่มีอยู่ เข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เกิดขึ้น

คำพูดทำนองนี้ จึงเกิดขึ้นตามเหตุปัจจัย เช่น

ดี ชั่ว ถูก ผิด กุศล อกุศล บุญ บาป คุณ โทษ

เพราะ สภาวะตามความเป็นจริงของสิ่งที่เกิดขึ้น
ล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ตามเหตุปัจจัยของสิ่งๆนั้นเอง

ยกตัวอย่างให้เห็น เช่น

เราไม่ว่าเขา เขาย่อมไม่ว่าเรา

ที่เขาว่าเรา เพราะ เราเคยสร้างเหตุไว้ก่อน

หากไม่เคยสร้างเหตุไว้ ผลจะมาจากไหน


"จึงต้องตีกันหนักๆบ้าง"

ไม่ต้องไปคิดตีใครหรอกโสกะ

เพราะ คิดแบบนี้ไง คิดตีคนอื่น

พอโดนตีกลับเข้าบ้าง แทนที่จะย้อนกลับมาดูการกระทำของตัวเอง

เปล่าเลย กลับเที่ยวยกตนข่มท่านบ้าง ข่มขู่บ้าง เหน็บแนมบ้าง แช่งบ้าง

ควรตีตัวเองให้มากๆ ไม่ใช่คิดตีคนอื่น เหตุมีผลย่อมมี


"ปฏิบัติเป็นกลางๆต่อกันไปบ้างเพื่อให้คู่กรรมได้รู้ตัว ตื่นขึ้นเอาตัวเอาใจออกพ้นจากวังวนแห่งวัฏฏะอันไม่รู้สิ้นสุดนี้เสียที"


ปฏิบัติเพื่อตัวเองนะ โสกะ คำพูดทั้งหมด นั่นคือ สิ่งที่โสกะควรทำ

.....................................................
มิจฉาปณิหิตจิต จิตที่ตั้งไว้ผิด ย่อมตามพิชิตตัวเอง

สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ตามการกระทำของแต่ละคน (ตามความเป็นจริง)


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ธ.ค. 2013, 10:40 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


s004
อ้างคำพูด:
ภิกษุทั้งหลาย ! บาปกรรมแม้ประมาณน้อย
บุคคล บางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น นำเขาไปนรกได้

ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว
กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไม่ปรากฏผลมาก ต่อไปเลย

cool
พิจารณา ข้อความ 2 ประโยคนี้ให้ดีและลึกซึ้งนะ วลัยพร
smiley
เพราะการมาเมตตาโปรดสัตว์โลกของมหาบุรุษทั้งหลายนั้น ส่วนใหญ่ก่อประโยชน์มากมายมหาศาล แต่ส่วนน้อยที่ไปสร้างความขัดเคืองให้ปุถุชนผู้มีจิตอันหยาบไม่ทราบถึงเจตนาดี และเมตตาที่มีต่อสัตว์โลก สิ่งเหล่านั้นหาเป็นบาปอันใดไม่ ถึงจะเป็นกรรมที่เคยเกี่ยวเนื่องกัน ก็จักกลายเป็นอโหสิกรรมสำหรับมหาบุรุษทั้งหลายเหล่านั้น สมดังพุทธวัจจนะที่ว่า

ส่วนบาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว
กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรม ไม่ปรากฏผลมาก ต่อไปเลย

:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 21 ธ.ค. 2013, 11:01 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว


bbby เขียน:
bbby เขียน:


อ้างคำพูด:
ผิดคาดค่ะ เราอ่านทุกตัวอักษรเลยค่ะ เรากลับมีความรู้สึกว่าธรรมะของท่าน
เป็นธรรมะที่เราอ่านแล้วรู้สึกเข้าใจง่ายค่ะ ตัวอักษรทุกตัวเหมือนอยู่ในสมองเลยค่ะ
นึกขึ้นมาก็จำได้เหมือนมีความรู้สึกคุ้นๆค่ะ


คุณโฮฮับเขียน


อ้างคำพูด:
พูดจริงหรือเปล่า.....อยากจะเป็นพระโพธิสัตว์......เขาห้ามมุสาน่ะ


ขอยกมือขึ้น แล้วกล่าวว่า พูดตามความสัจจริงที่เขียนมาทั้งหมดข้างบนนี้ค่ะ

อ้างคำพูด:
คุณไม่ได้มีความนับถือพระพุทธเจ้า สิ่งที่คุณนับคือเทพเจ้าหรือเซียน


เทพเจ้าหรือเซียน รู้สึกว่าชีวิตเราจะได้ไปเกี่ยวข้องกับท่านอยู่2-3ครั้งค่ะ
ก่อนที่เราจะเริ่มศึกษาธรรม

อ้างคำพูด:
กับคุณเต้ก็เหมือนกัน ดีน่ะที่ไม่อ้างพระพุทธองค์
ถ้าอ้างพุทธองค์แล้วพูดจาโยงไปเจ้ากรรมนายเวร อิทธิฤทธิ์ ก็ต้องเจอผมสวนเช่นกัน :b6:


แล้วเราจะไปอ้างท่านได้อย่างไรค่ะ ในเมื่อตัวเราศึกษาธรรมของท่านอยู่
เพราะเราอยู่ในสถานะฆราวาสค่ะ แต่เราตั้งท่านกับพระโพธิสัตว์กวนอิมไว้ในใจค่ะ :b8:

อ้างคำพูด:
อยากเป็นโพธิสัตว์ก็เป็นไป แต่ไม่ใช่เอาพระธรรมของพระโคดมไปมั่ว
พระโพธิสัตว์กับพระธรรมที่พระโคดมสอน ไม่เกี่ยวข้องกัน....เข้าใจมั้ย




พระโพธิสัตว์กับพระธรรมที่พระโคดมสอน ไม่เกี่ยวข้องกัน....

ไม่เกี่ยวข้องกันแบบไหนค่ะ :b8:
เราเคยพูดเรื่องนี้ในเว๊บนี้อยู่ครั้งหนึ่ง ซึ่งก็เขียนมาแนวคล้ายๆกับคุณโฮฮับนี่ล่ะค่ะ
แต่ก่อนเราเคยคุยเรื่องธรรมะกับกลุ่มคนที่นี่ พอเราคุยกับเค้า
เค้าบอกแนวทางธรรมะของคุณ คือแนวของพระไทย ไม่เหมือนแนวธรรมะของเค้า
เราก็จบเลยไม่คุยต่อ

เราก็เลยนึก เวลาคุยกับคนไทย คนไทยบอกธรรมะของเราเป็นมหายาน
เวลาคุยธรรมะกับคนที่นี่ คนที่นี่บอกธรรมะคุณเป็นธรรมะพระไทย เราก็เลยจบดีกว่า
คุณโฮฮับเคยเป็นมั๊ย บางสิ่งบางอย่างคุณรู้ แต่ก็ไม่รู้ว่าจะพูดอย่างไร
เพราะฉนั้น เราคิดว่าทำตัวเป็นคุณเฉยดีที่สุดค่ะ :b12: :b41: :b55: :b49:

:b8:
ถึงน้อง bbby

ต้องขออภัยที่ไม่ได้มาให้กำลังใจทันทีทันควัน เพราะมันถูกมะรุมมะตุ้มด้วยหลายเรื่องหลายราว
:b27:
ขอให้น้องจงอย่าได้หวั่นไหวไปกับถ้อยคำต่างๆ ที่ถากถางวิพากษ์วิจารณ์ เพราะสิ่งเหล่านี้เปรียบเหมือนด่าน 18 มนุษย์ทองคำที่เราจะต้องฝ่าฟันและข้ามพ้นไปให้ได้ เมื่อยังพ้นไปไม่ได้ ก็ขอให้จงใช้อุปสรรคสิ่งขัดขวางเหล่านั้นเป็นบันไดให้เราเหยีบขึ้นไปสู่ความสำเร็จ จงแปลงวิกฤติเหล่านี้ให้เป็นโอกาสเสียนะ จะได้กำไร

"มารบ่มี บารมีบ่เกิด"

ค้นหาอนัตตา.....พิจารณาทุกสิ่งทุกอย่าง ทุกการกระทบสัมผัส ลงสู่อนัตตา พิสูจน์ความเป็นอนัตตาของธรรมทั้งปวง ผลสุดท้ายจากการพิสูจน์ เราจะได้เห็นได้รู้ถึงความดับสิ้นไป ตายขาดไปของอัตตา และสักกายทิฏฐิ ประจักษ์แก่ใจตนเอง

มรรค ผล นิพพาน นิโรธ อมตะสุข นั้นเป็นเพียงผลพลอยได้ของการพิสูจน์ธรรม พิสูจน์อนัตตา

เวลาปฏิบัติธรรมอย่าหมายผล จงเพียรอยู่กับการเจริญเหตุ ๆ ให้เหตุทุกข์คือความเห็นผิดว่าเป็นอัตตา ตัวกูของกู มันดับและตายขาดไปจากใจ

ถ้ากระทู้สงบเย็นลงแล้ว จะมาเล่าให้ฟังต่อไปถึงเรื่องของหลวงพ่อธีนะครับ

คิดว่าคงไม่เกินสิ้นปี 2556 นี้ กระทู้ของอโศกะทุกกระทู้น่าจะสงบเย็นลงได้ ด้วยธํรรม

:b8:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 ธ.ค. 2013, 07:45 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
ถึงน้อง bbby

ต้องขออภัยที่ไม่ได้มาให้กำลังใจทันทีทันควัน เพราะมันถูกมะรุมมะตุ้มด้วยหลายเรื่องหลายราว
:b27:
ขอให้น้องจงอย่าได้หวั่นไหวไปกับถ้อยคำต่างๆ ที่ถากถางวิพากษ์วิจารณ์ เพราะสิ่งเหล่านี้เปรียบเหมือนด่าน 18 มนุษย์ทองคำที่เราจะต้องฝ่าฟันและข้ามพ้นไปให้ได้ เมื่อยังพ้นไปไม่ได้ ก็ขอให้จงใช้อุปสรรคสิ่งขัดขวางเหล่านั้นเป็นบันไดให้เราเหยีบขึ้นไปสู่ความสำเร็จ จงแปลงวิกฤติเหล่านี้ให้เป็นโอกาสเสียนะ จะได้กำไร

"มารบ่มี บารมีบ่เกิด"


ผมว่าโสกะให้กำลังใจตัวเองดีกว่า สำหรับคุณเต้ไม่ต้องห่วง ถึงเขาจะเป็นผู้หญิง เขาก็เข็มแข็งพอ
คนเราถ้ามีใจบริสุทธิ์ปราศจากซึ่ง มารยาสาไถ ไม่เสแสร้ง
ย่อมต้องรับสิ่งที่มากระทบ ตามความเป็นจริงได้
และยิ่งเป็นคนมีเมตตาธรรมแบบคุณเต้ คนเขาก็ชื่นชม ไม่มีใครไปคิดร้ายหรอกครับ

ดังนั้นขอร้อง อย่าเอาคุณเต้มาสร้างสถานะการณ์ให้ดูเหมือนว่า....
ตัวเองเป็นคนดีเลิศ สีทองที่ย้อมตัวไว้มันหลุดลอกหมด จนเห็นเป็นกุดถังทั้งตัวแล้ว
:b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2013, 09:51 
 
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 18 ก.ย. 2011, 21:51
โพสต์: 4941


 ข้อมูลส่วนตัว




Prayim_resize.jpg
Prayim_resize.jpg [ 86.69 KiB | เปิดดู 2994 ครั้ง ]
ดับขันธ์ในฌาณ.jpg
ดับขันธ์ในฌาณ.jpg [ 51.46 KiB | เปิดดู 2993 ครั้ง ]
Tat3_resize.jpg
Tat3_resize.jpg [ 82.34 KiB | เปิดดู 2991 ครั้ง ]
โฮฮับ เขียน:
asoka เขียน:
อ้างคำพูด:
ปัญจวัคคีย์เห็นอนัตตาแล้ว แต่เห็นแล้วไม่ปล่อยวาง พระพุทธองค์จึงตรัสให้วางลง


นี่ก็สู่รู้หรืออวดรู้อีก

คุณโฮฮับไปรู้ได้ยังไงว่าปัญจวัคคีย์เห็นอนัตตาแล้ว มีหลักฐานตรงไหน....ตามธรรม ผู้ที่เห็น(รู้)อนัตตา ก็เห็นธรรม หมดสงสัย ปล่อยวางความเห็นผิดเอง ไม่ต้องไปสอนให้ปล่อยวางอย่างที่โฮฮับว่า อ่านทบทวนอนัตตลักขณสูตรให้ดีๆนะ พระพุทธเจ้ามิได้ทรงสอนให้ปัญจวัคคีย์ปล่อยวาง แต่ทรงชี้เน้นให้เห็นถึงความเป็นอนัตตา ว่าเป็นอย่างไร

แล้วคนอย่างโฮฮับคงหมดโอกาสจริงๆที่จะได้เข้าใจเรื่องของอนัตตา เพราะความรู้ผิด เห็นผิดมันบังตาไว้ตลอด


ปัญจวัคคีย์ เกิดปัญญาดวงตาเห็นธรรมเมื่อครั้งได้ฟัง...ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร
เห็นธรรมอย่างไร ก็คือเห็นความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาของสังขารแล้ว
เหตุนี้ปัญจวัคคีย์ได้ชื่อว่าเป็นพระอริยบุคคล

และพุทธวจนที่ทรงสอนให้ปัญจวัคคีย์ปล่อยวาง อนัตตา
นั้นก็คือปล่อยวางสังขารอย่าไปยึดมั่นถือมั่น.....ตามพระสูตรนี้....

อนัตตลักขณสูตร.......

ตรัสถามความเห็นของพระปัญจวัคคีย์
[๒๑] พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่าดูกรภิกษุทั้งหลายพวกเธอสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน
รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
พระปัญจวัคคีย์ทูลว่า ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.

ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดาควรหรือจะตามเห็นสิ่ง
นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้น ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.

ภ. เวทนาเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่ง
นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. สัญญาเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้น
ว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. สังขารทั้งหลายเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่ง
นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. วิญญาณเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่ง
นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.


http://www.84000.org/tipitaka/pitaka1/v ... agebreak=0

ดูการถามตอบของพระพุทธองค์กับปัญจวัคีย์ พระพุทธถามอย่างไร
และปัญจวัคคีย์ ตอบพุทธองค์อย่างไร

ปล. กรุณาอ่านไปพิจารณาไป อย่าดูแต่ตัวอักษร และต้องอ่านให้หมด
เอาลิ้งมาวางให้แล้ว :b13:

:b12: :b12: :b12:
:b12: :b12: :b12: :b12:
55555555555

นี่แหละที่เขาเรียกว่า "ฟังไม่ได้ศัพท์แล้วจับมากระเดียด"

โฮฮับดูและอ่านเฉพาะท่อนหัว ไม่ดูสรุปวัตถุประสงค์ของพระบรมศาสดาที่ มีพระกรุณา จะทรงชี้ให้ปัญจวัคคีย์และเทพยดา พรหม ทั้งหลายได้เห็นชัดอนัตตาในท่อนท้ายๆที่อโศกะคาดแดงไว้ให้อ่าน

สงสัยโฮฮับไม่เคยได้เรียน เรียงความ ย่อความ หรือทำช็อตโน้ตมาสมัยเรียนมั้ง ถึงว่า ถึงได้จับประเด็นธรรมมาผิดๆ

มรรคมีองค์ 8 เป็นธรรมสำหรับพระอริยเจ้าเท่านั้น ปุถุชนคนธรรมดายังปฏิบัติไม่ได้...(แล้วโฮฮับตอนนี้ปฏิบัติได้หรือยังล่ะ?)

5555555
:b34: :b34: :b34: :b34: :b34:

อ้อ!...เกือบลืม อีกอันหนึ่งดังอ้างอิงคำพูดของโฮฮับมาข้างล่างนี้

อ้างคำพูด:
ปัญจวัคคีย์ เกิดปัญญาดวงตาเห็นธรรมเมื่อครั้งได้ฟัง...ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร
เห็นธรรมอย่างไร ก็คือเห็นความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาของสังขารแล้ว
เหตุนี้ปัญจวัคคีย์ได้ชื่อว่าเป็นพระอริยบุคคล

และพุทธวจนที่ทรงสอนให้ปัญจวัคคีย์ปล่อยวาง อนัตตา
นั้นก็คือปล่อยวางสังขารอย่าไปยึดมั่นถือมั่น.....ตามพระสูตรนี้...
.

Onion_L
ดูตรงที่คาดสีแดง
ปัญจวัคคีย์ เกิดปัญญาดวงตาเห็นธรรมเมื่อครั้งได้ฟัง...ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร
:b34: :b34: :b34:
โฮฮับ แปลภาษาบาลีเป็นไหม

หลังจากทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตนสูตร พระบรมศาสดาทรงตรัสว่า


"อัญญาสิ ๆ โกญฑัญโญ"......โกญฑัญญะได้เห็นแล้ว ๆ

พระบรมศาสดามิได้ทรงกล่าวว่า

"อัญญสิ ๆ ปัญจวัคคียโย"......ปัญจวัคคีย์ได้เห็นแล้วหรอกนะ โฮฮับ

กรณีอย่างนี้ก็ถือว่าเป็นการบิดเบือนธรรมและกล่าวตู่พุทธวัจจนะ ด้วย เป็นกรรมหนัก
:b34: :b34: :b34: :b34:

อีกนิ๊ดหนึ่งเพื่อให้เห็น(รู้) ความละเอียดอ่อนของภาษา

ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร.......ถ้าเขียนอย่างนี้ แปลว่า กงล้อแห่งธรรม

แต่ธัมมจักกัปปวัตนสูตร ต้องเขียนด้วย จักกัปปวัตน...ไม่ใช่ จักร......จึงจะได้เนื้อหาสาระที่แท้จริงของธรรม

"ธัมจักกัปปวัตน"........มีความหมายว่า....."ขอบเขตแห่งธรม" ในภาษาฝรั่งอังกฤษเขาเรียกว่า "Scop"

พระบรมศาสดาทรงแสดงขอบเขตแห่งหลักสูตรการสอนธรรมของพระองค์ไว้ที่ อริยสัจ 4 มรรคมีองค์ 8 กิจ 3 อย่าง มีปริวัต 12

สมกับทรงเป็นยอดแห่งบรมครู....(อนุตโรปุริสัทธรรมสารถี)......ตรงกับวิชาฝรั่งเดี๊ยะที่วันแรกต้องบอกขอบเขตของเรื่องหรือวิชาที่จะสอนให้ลูกศิษย์รู้เสียก่อน เป็นธรรมเนียม หลังจากนั้นจึงค่อยขยายความ ดังพระบรมศาสดาทรง ขยายความอริยสัจ 4 ไปเป็น 84,000 พระธรรมขันธ์

วันปฐมเทศนา ก็ทรงแสดงอริยสัจ 4 ตลอดพระชนม์ชีพ ธรรมทุกข้อที่ทรงแสดง ก็รวมลงสู่ อริยสัจ 4

แม้วันที่พระองค์จะทรงเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ก็ทรงแสดงอริยสัจ 4 ที่ สั้นมากแต่ได้ใจความทั้งหมด

อยากรู้ไม้ ว่า


"หันทะทานิ อมันตยามิโว ภิกขุ

วะยะธัมมา สังขารา อัปปมทาเทนะ สัมปาเททะ"

ถ้าแปลโดยถูกต้องตามความหมายแห่งธรรม จะกลายเป็นสรุป อริยสัจ 4 ได้อย่างไร

ถ้ามีคนสงสัยถามมาก็จะตอบ

ถ้าไม่มีใครถามก็จะทิ้งไว้ให้เป็นปริศนาคาใจผู้สงสัย ข้ามเดือนข้ามปีใหม่ไปจนกว่าจะค้นพบปริศนาธรรมอันนี้ด้วยตนของตนเองแต่ละท่านแต่ละคน

:b11:
onion onion onion
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2013, 10:49 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ก.พ. 2010, 17:53
โพสต์: 4999

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


asoka เขียน:
โฮฮับ เขียน:
asoka เขียน:
อ้างคำพูด:
ปัญจวัคคีย์เห็นอนัตตาแล้ว แต่เห็นแล้วไม่ปล่อยวาง พระพุทธองค์จึงตรัสให้วางลง


นี่ก็สู่รู้หรืออวดรู้อีก

คุณโฮฮับไปรู้ได้ยังไงว่าปัญจวัคคีย์เห็นอนัตตาแล้ว มีหลักฐานตรงไหน....ตามธรรม ผู้ที่เห็น(รู้)อนัตตา ก็เห็นธรรม หมดสงสัย ปล่อยวางความเห็นผิดเอง ไม่ต้องไปสอนให้ปล่อยวางอย่างที่โฮฮับว่า อ่านทบทวนอนัตตลักขณสูตรให้ดีๆนะ พระพุทธเจ้ามิได้ทรงสอนให้ปัญจวัคคีย์ปล่อยวาง แต่ทรงชี้เน้นให้เห็นถึงความเป็นอนัตตา ว่าเป็นอย่างไร

แล้วคนอย่างโฮฮับคงหมดโอกาสจริงๆที่จะได้เข้าใจเรื่องของอนัตตา เพราะความรู้ผิด เห็นผิดมันบังตาไว้ตลอด


ปัญจวัคคีย์ เกิดปัญญาดวงตาเห็นธรรมเมื่อครั้งได้ฟัง...ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร
เห็นธรรมอย่างไร ก็คือเห็นความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาของสังขารแล้ว
เหตุนี้ปัญจวัคคีย์ได้ชื่อว่าเป็นพระอริยบุคคล

และพุทธวจนที่ทรงสอนให้ปัญจวัคคีย์ปล่อยวาง อนัตตา
นั้นก็คือปล่อยวางสังขารอย่าไปยึดมั่นถือมั่น.....ตามพระสูตรนี้....

อนัตตลักขณสูตร.......

ตรัสถามความเห็นของพระปัญจวัคคีย์
[๒๑] พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่าดูกรภิกษุทั้งหลายพวกเธอสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน
รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
พระปัญจวัคคีย์ทูลว่า ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.

ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดาควรหรือจะตามเห็นสิ่ง
นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้น ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.

ภ. เวทนาเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่ง
นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. สัญญาเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้น
ว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. สังขารทั้งหลายเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่ง
นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. วิญญาณเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ป. ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่ง
นั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
ป. ข้อนั้นไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.


http://www.84000.org/tipitaka/pitaka1/v ... agebreak=0

ดูการถามตอบของพระพุทธองค์กับปัญจวัคีย์ พระพุทธถามอย่างไร
และปัญจวัคคีย์ ตอบพุทธองค์อย่างไร

ปล. กรุณาอ่านไปพิจารณาไป อย่าดูแต่ตัวอักษร และต้องอ่านให้หมด
เอาลิ้งมาวางให้แล้ว :b13:

:b12: :b12: :b12:
:b12: :b12: :b12: :b12:
55555555555

นี่แหละที่เขาเรียกว่า "ฟังไม่ได้ศัพท์แล้วจับมากระเดียด"

โฮฮับดูและอ่านเฉพาะท่อนหัว ไม่ดูสรุปวัตถุประสงค์ของพระบรมศาสดาที่ มีพระกรุณา จะทรงชี้ให้ปัญจวัคคีย์และเทพยดา พรหม ทั้งหลายได้เห็นชัดอนัตตาในท่อนท้ายๆที่อโศกะคาดแดงไว้ให้อ่าน

สงสัยโฮฮับไม่เคยได้เรียน เรียงความ ย่อความ หรือทำช็อตโน้ตมาสมัยเรียนมั้ง ถึงว่า ถึงได้จับประเด็นธรรมมาผิดๆ

มรรคมีองค์ 8 เป็นธรรมสำหรับพระอริยเจ้าเท่านั้น ปุถุชนคนธรรมดายังปฏิบัติไม่ได้...(แล้วโฮฮับตอนนี้ปฏิบัติได้หรือยังล่ะ?)

5555555
:b34: :b34: :b34: :b34: :b34:

อ้อ!...เกือบลืม อีกอันหนึ่งดังอ้างอิงคำพูดของโฮฮับมาข้างล่างนี้

อ้างคำพูด:
ปัญจวัคคีย์ เกิดปัญญาดวงตาเห็นธรรมเมื่อครั้งได้ฟัง...ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร
เห็นธรรมอย่างไร ก็คือเห็นความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาของสังขารแล้ว
เหตุนี้ปัญจวัคคีย์ได้ชื่อว่าเป็นพระอริยบุคคล

และพุทธวจนที่ทรงสอนให้ปัญจวัคคีย์ปล่อยวาง อนัตตา
นั้นก็คือปล่อยวางสังขารอย่าไปยึดมั่นถือมั่น.....ตามพระสูตรนี้...
.

Onion_L
ดูตรงที่คาดสีแดง
ปัญจวัคคีย์ เกิดปัญญาดวงตาเห็นธรรมเมื่อครั้งได้ฟัง...ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร
:b34: :b34: :b34:
โฮฮับ แปลภาษาบาลีเป็นไหม

หลังจากทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตนสูตร พระบรมศาสดาทรงตรัสว่า


"อัญญาสิ ๆ โกญฑัญโญ"......โกญฑัญญะได้เห็นแล้ว ๆ

พระบรมศาสดามิได้ทรงกล่าวว่า

"อัญญสิ ๆ ปัญจวัคคียโย"......ปัญจวัคคีย์ได้เห็นแล้วหรอกนะ โฮฮับ

กรณีอย่างนี้ก็ถือว่าเป็นการบิดเบือนธรรมและกล่าวตู่พุทธวัจจนะ ด้วย เป็นกรรมหนัก
:b34: :b34: :b34: :b34:

อีกนิ๊ดหนึ่งเพื่อให้เห็น(รู้) ความละเอียดอ่อนของภาษา

ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร.......ถ้าเขียนอย่างนี้ แปลว่า กงล้อแห่งธรรม

แต่ธัมมจักกัปปวัตนสูตร ต้องเขียนด้วย จักกัปปวัตน...ไม่ใช่ จักร......จึงจะได้เนื้อหาสาระที่แท้จริงของธรรม

"ธัมจักกัปปวัตน"........มีความหมายว่า....."ขอบเขตแห่งธรม" ในภาษาฝรั่งอังกฤษเขาเรียกว่า "Scop"

พระบรมศาสดาทรงแสดงขอบเขตแห่งหลักสูตรการสอนธรรมของพระองค์ไว้ที่ อริยสัจ 4 มรรคมีองค์ 8 กิจ 3 อย่าง มีปริวัต 12

สมกับทรงเป็นยอดแห่งบรมครู....(อนุตโรปุริสัทธรรมสารถี)......ตรงกับวิชาฝรั่งเดี๊ยะที่วันแรกต้องบอกขอบเขตของเรื่องหรือวิชาที่จะสอนให้ลูกศิษย์รู้เสียก่อน เป็นธรรมเนียม หลังจากนั้นจึงค่อยขยายความ ดังพระบรมศาสดาทรง ขยายความอริยสัจ 4 ไปเป็น 84,000 พระธรรมขันธ์

วันปฐมเทศนา ก็ทรงแสดงอริยสัจ 4 ตลอดพระชนม์ชีพ ธรรมทุกข้อที่ทรงแสดง ก็รวมลงสู่ อริยสัจ 4

แม้วันที่พระองค์จะทรงเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ก็ทรงแสดงอริยสัจ 4 ที่ สั้นมากแต่ได้ใจความทั้งหมด

อยากรู้ไม้ ว่า


"หันทะทานิ อมันตยามิโว ภิกขุ

วะยะธัมมา สังขารา อัปปมทาเทนะ สัมปาเททะ"

ถ้าแปลโดยถูกต้องตามความหมายแห่งธรรม จะกลายเป็นสรุป อริยสัจ 4 ได้อย่างไร

ถ้ามีคนสงสัยถามมาก็จะตอบ

ถ้าไม่มีใครถามก็จะทิ้งไว้ให้เป็นปริศนาคาใจผู้สงสัย ข้ามเดือนข้ามปีใหม่ไปจนกว่าจะค้นพบปริศนาธรรมอันนี้ด้วยตนของตนเองแต่ละท่านแต่ละคน

:b11:
onion onion onion


ผมขี้เกียจจะสีซอให้โสกะฟังแล้ว น่ารำคาญ :b32:


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 ธ.ค. 2013, 19:03 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับ 19
สมาชิกระดับ 19
ลงทะเบียนเมื่อ: 11 ก.พ. 2009, 22:21
โพสต์: 1975


 ข้อมูลส่วนตัว


คุณอโศกะเขียน

อ้างคำพูด:
ถ้าไม่มีใครถามก็จะทิ้งไว้ให้เป็นปริศนาคาใจผู้สงสัย ข้ามเดือนข้ามปีใหม่ไปจนกว่าจะค้นพบปริศนาธรรมอันนี้ด้วยตนของตนเองแต่ละท่านแต่ละคน




ขอถามค่ะ :b8: :b41: :b55: :b49:


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 82 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2, 3, 4, 5, 6  ต่อไป

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: Google [Bot] และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร