วันเวลาปัจจุบัน 24 ก.ค. 2025, 02:19  



เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง




กลับไปยังกระทู้  [ 25 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2  Bookmark and Share
เจ้าของ ข้อความ
โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ม.ค. 2017, 15:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
อ่านแล้วพอจำแนกออกเป็น

การดำเนินชีวิตในรูปแบบของพุทธบริษัท4
มีการยกเอาตัวอย่างการเป็นอยู่ในสังคมพุทธ

และคุณธรรม
เช่นการดูแลพ่อแม่
การทำสิ่งที่เป็นประโยชน์

สิ่งที่ขาดคือความเห็น
ยังไม่มีการยกตัวอย่างเรื่องกรรม
ชาตินี้และชาติหน้า

และการเข้าถึงหัวใจของพุทธศาสนาคือ อริยสัจ4
ว่าด้วยทุกข์
ไม่ได้ยกตัวอย่างเดี่ยวกับความทุกข์เลย





อ้อจะเอาเรื่องกรรมหรือขอรับ เหมือนเขาพูดเรื่องตัดกรรมไว้แล้วนะ :b1:

(ความหมายกรรมระหว่างชาวบ้านกับพุทธธรรมยังต้องทำความเข้าใจกันอีกหลายศตวรรษ)

ชาตินี้ก็ดูที่มงคลสูตร

ชาติหน้าก็เป็นผลของชาตินี้ และก็เมื่อชาตินี้ ได้ประสบทุกข์สุขประการใดก็อย่าโยนอย่าโทษว่าเป็นผลของชาติที่แล้วไปสะทุกเรื่องทุกราวไป เพราะนั่นเรียกว่าปุพเพกตวาทซึ่งเป็นลัทธินิครนถ์

เรื่องทุกข์ในอริยสัจ เช่น คุณเป็นไข้เป็นทุกข์ไหม ถ้าเป็นทุกข์ก็นั่นแหละทุกขอริยสัจ :b1:


ไม่ได้พูดเรื่องชาวบ้านกับความเขื่อเรื่องกรรมครับ

พูดถึงความเห็นของผู้เขียนกับเรื่องกรรม


คุณ student มีความเห็นเข้าใจเรื่องกรรมยังไงครับ :b10:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 29 ม.ค. 2017, 15:42 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
ครับผม
เกิด
แก่
เจ็บ
ตาย

เป็นทุกขสัจอยู่แล้ว


ถ้ายังงั้น ผู้ไม่ยึดมั่นเช่นพระพุทธเจ้า พระอริยสาวก เป็นทุกข์ จากเกิดแก่เจ็บตายไหมครับ ขอฟังความเห็น :b10:

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ม.ค. 2017, 01:14 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
อ่านแล้วพอจำแนกออกเป็น

การดำเนินชีวิตในรูปแบบของพุทธบริษัท4
มีการยกเอาตัวอย่างการเป็นอยู่ในสังคมพุทธ

และคุณธรรม
เช่นการดูแลพ่อแม่
การทำสิ่งที่เป็นประโยชน์

สิ่งที่ขาดคือความเห็น
ยังไม่มีการยกตัวอย่างเรื่องกรรม
ชาตินี้และชาติหน้า

และการเข้าถึงหัวใจของพุทธศาสนาคือ อริยสัจ4
ว่าด้วยทุกข์
ไม่ได้ยกตัวอย่างเดี่ยวกับความทุกข์เลย





อ้อจะเอาเรื่องกรรมหรือขอรับ เหมือนเขาพูดเรื่องตัดกรรมไว้แล้วนะ :b1:

(ความหมายกรรมระหว่างชาวบ้านกับพุทธธรรมยังต้องทำความเข้าใจกันอีกหลายศตวรรษ)

ชาตินี้ก็ดูที่มงคลสูตร

ชาติหน้าก็เป็นผลของชาตินี้ และก็เมื่อชาตินี้ ได้ประสบทุกข์สุขประการใดก็อย่าโยนอย่าโทษว่าเป็นผลของชาติที่แล้วไปสะทุกเรื่องทุกราวไป เพราะนั่นเรียกว่าปุพเพกตวาทซึ่งเป็นลัทธินิครนถ์

เรื่องทุกข์ในอริยสัจ เช่น คุณเป็นไข้เป็นทุกข์ไหม ถ้าเป็นทุกข์ก็นั่นแหละทุกขอริยสัจ :b1:


ไม่ได้พูดเรื่องชาวบ้านกับความเขื่อเรื่องกรรมครับ

พูดถึงความเห็นของผู้เขียนกับเรื่องกรรม


คุณ student มีความเห็นเข้าใจเรื่องกรรมยังไงครับ :b10:


ครับ
หลักปฎิจจสมุปบาท
เป็นความเห็นที่แสดงถึงความศรัทธาต่อคำสอนของพระพุทธเจ้า
มีเหตุปัจจัย
ภพชาติหน้ามีเพราะเหตุปัจจัย
ภพชาตินี้มีเพราะเหตุปัจจัย

ไม่อย่างนั้น จะไม่สามารถบอกได้ว่าผู้ปฏิบัติธรรมนั้นมีความเห็นอย่างไร
เช่นผู้เขียนไม่ได้กล่าวเรื่องกรรม อันเกี่ยวเนื่องกับปฎิจจสมุปบาท

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ม.ค. 2017, 01:17 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
ครับผม
เกิด
แก่
เจ็บ
ตาย

เป็นทุกขสัจอยู่แล้ว


ถ้ายังงั้น ผู้ไม่ยึดมั่นเช่นพระพุทธเจ้า พระอริยสาวก เป็นทุกข์ จากเกิดแก่เจ็บตายไหมครับ ขอฟังความเห็น :b10:


การเกิดบ่อยๆเป็นทุกข์
เกิดแก่เจ็บตาย เป็นฐานะที่มีแน่นอน

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ม.ค. 2017, 09:10 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
ครับผม
เกิด
แก่
เจ็บ
ตาย

เป็นทุกขสัจอยู่แล้ว


ถ้ายังงั้น ผู้ไม่ยึดมั่นเช่นพระพุทธเจ้า พระอริยสาวก เป็นทุกข์ จากเกิดแก่เจ็บตายไหมครับ ขอฟังความเห็น :b10:


การเกิดบ่อยๆเป็นทุกข์
เกิดแก่เจ็บตาย เป็นฐานะที่มีแน่นอน


พระพุทธเจ้าเป็นไข้ ท่านเป็นทุกข์ไหม

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 30 ม.ค. 2017, 09:27 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


ตันติ ๑. แบบแผน เช่น ตันติธรรม (ธรรมที่เป็นแบบแผน) ตันติประเพณี (แนวทางที่ยึดถือปฏิบัติสืบกันมาเป็นแบบแผน) เช่น ภิกษุทั้งหลายควรสืบต่อตันติประเพณีแห่งการเล่าเรียนพระธรรมวินัย และเที่ยวจาริกไปแสดงธรรม โดยดำรงอิริยาบถอันน่าเลื่อมใส ๒. เส้น, สาย เช่น สายพิณ

ตันติภาษา ภาษาที่มีแบบแผน คือมีหลักภาษา มีไวยากรณ์ เป็นระเบียบ เป็นมาตรฐาน, เมื่อพระพุทธโฆษาจารย์แปลอรรถกถาจากภาษาสิงหล ท่านกล่าวว่า ยกขึ้นสู่ตันติภาษา คำว่า “ตันติภาษา” ในที่นี้หมายถึง ภาษาบาลี (บาลี ตนฺติภาสา)

บาลี ๑. “ภาษาอันรักษาไว้ซึ่งพุทธพจน์” ภาษาที่ใช้ทรงจำและจารึกรักษาพุทธพจน์แต่เดิมมา อันเป็นหลักในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ถือกันว่าได้แก่ ภาษามคธ ๒. พระพุทธวจนะ ซึ่งพระสังคีติกาจารย์รวบรวมไว้ คือ พระธรรมวินัยที่พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ประชุมกันรวบรวมจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่ในคราวปฐมสังคายนา และรักษาไว้ด้วยภาษาบาลี สืบต่อกันมาในรูปที่เรียกว่า พระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาต้นเดิม ที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนาเถรวาท, พุทธพจน์, ข้อความที่มาในพระไตรปิฎก,

ในการศึกษาพระพุทธศาสนา มีประเพณีที่ปฏิบัติกันมาในเมืองไทย ให้แยกคำว่า “บาลี”


ในความหมาย ๒ อย่างนี้ ด้วยการเรียกให้ต่างกัน คือ ถ้าหมายถึงบาลีในความหมายที่ ๑. ให้ใช้คำว่า ภาษาบาลี (หรือ ศัพท์บาลี คำบาลีหรือบาลี) แต่ถ้าหมายถึงบาลีในความหมายที่ ๒. ให้ใช้คำว่า พระบาลี

มคธภาษา ภาษาของชนชาวมคธ, ภาษาของชนผู้อยู่ในแคว้นมคธ

มคธ ๑. ชื่อแคว้นหนึ่งในบรรดา ๑๖ แคว้นใหญ่แห่งชมพูทวีปครั้งพุทธกาล ตั้งอยู่ฝั่งใต้ของแม่น้ำคงคาตอนกลาง เป็นแคว้นที่มีอำนาจมากแข่งกันกับแคว้นโกศล และเป็นที่พระพุทธเจ้าทรงประดิษฐานพระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาล มคธมีนครหลวงชื่อ ราชคฤห์ ราชาผู้ปกครองพระนามว่า พิมพิสาร


ตอนปลายพุทธกาล พระเจ้าพิมพิสารถูกพระโอรสชื่อ อชาตศัตรู ปลงพระชนม์ และขึ้นครองราชย์สืบแทน

ต่อมาในสมัยพระเจ้ากาลาโศก หรือก่อนนั้น เมืองหลวงของมคธ ย้ายไปตั้งที่เมืองปาฏลีบุตร บนฝั่งแม่น้ำคงคา เหนือเมืองราชคฤห์ขึ้นไป มคธรุ่งเรืองถึงที่สุดในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ซึ่งแคว้นใหญ่อื่นทั้งหมดได้รวมเข้าอยู่ภายในมหาอาณาจักรของพระองค์ทั้งหมดแล้ว

บัดนี้ บริเวณที่เคยเป็นแคว้นมคธในสมัยพุทธกาล เรียกว่า แคว้นพิหาร ๒. เรียกภาษาที่ใช้พูดในแคว้นมคธ หรือภาษาของชาวแคว้นมคธว่า ภาษามคธ และถือกันว่าภาษาบาลีที่ใช้รักษาพระพุทธพจน์สืบมาจนบัดนี้ คือ ภาษามคธ


รูปภาพ

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ก.พ. 2017, 03:44 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
ครับผม
เกิด
แก่
เจ็บ
ตาย

เป็นทุกขสัจอยู่แล้ว


ถ้ายังงั้น ผู้ไม่ยึดมั่นเช่นพระพุทธเจ้า พระอริยสาวก เป็นทุกข์ จากเกิดแก่เจ็บตายไหมครับ ขอฟังความเห็น :b10:


การเกิดบ่อยๆเป็นทุกข์
เกิดแก่เจ็บตาย เป็นฐานะที่มีแน่นอน


พระพุทธเจ้าเป็นไข้ ท่านเป็นทุกข์ไหม


เป็นทุกข์ครับในฐานะของอริยสัจ4
และเป็นนิโรธในฐานะที่แจ้งในอริยสัจ4แล้ว

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 01 ก.พ. 2017, 03:50 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 27 เม.ย. 2010, 08:10
โพสต์: 2830

แนวปฏิบัติ: ขันธ์5ด้วยการสังเกตุ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และอินทรีย์22
สิ่งที่ชื่นชอบ: พระสุตตันตปิฎก
อายุ: 0
ที่อยู่: ระยอง อุบลราชธานี

 ข้อมูลส่วนตัว


กรัชกาย เขียน:
student เขียน:
ครับผม
เกิด
แก่
เจ็บ
ตาย

เป็นทุกขสัจอยู่แล้ว


ถ้ายังงั้น ผู้ไม่ยึดมั่นเช่นพระพุทธเจ้า พระอริยสาวก เป็นทุกข์ จากเกิดแก่เจ็บตายไหมครับ ขอฟังความเห็น :b10:


คำว่าไม่ยึดมั่นคือมรรค

เมื่อมรรคสมบูรณ์ ก็มีผลคือนิโรธ

แต่คำว่าเกิดแก่เจ็บตายเป็นทุกขสัจ คนละขั้นตอนครับ

การทำอริยสัจ4ให้แจ้ง ก็ต้องมีเหตุคือทุกข์อยู่แล้ว

.....................................................
อย่าท้อถอยต่อการปฏิบัติ อย่าปล่อยให้ความขุ่นเคืองเข้าแทรก สร้างพลังด้วยคำสอนของพระพุทธเจ้า รำลึกและตอบแทนพระคุณมารดา และบิดา มองโลกด้วยใจเป็นกลาง ระลึกเสมอว่าเรายังด้อยปัญญาหากยังไม่ได้ปัญญา


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 22 มิ.ย. 2020, 18:39 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


student เขียน:


เป็นทุกข์ครับในฐานะของอริยสัจ4
และเป็นนิโรธในฐานะที่แจ้งในอริยสัจ4แล้ว


พระพุทธเจ้าเป็นไข้ ท่านไม่เป็นทุกข์หรอก เพราะทุกข์ท่านรู้เหตุของมันแล้วว่าคือสมุทัย (ตัณหา 3 ) และตัณหาท่านก็ดับมันหมดแล้วในคืนวันตรัสรู้
แต่เมื่อท่านเป็นไข้ ท่านก็ให้หมอชีวิกซึ่งเป็นหมอประจำพระองค์รักษา

แบบอริยสัจเป็นแนวนี้

- ทุกข์ (ความไม่สบายกายใจ)
- สมุทัย (ตัณหา)
-นิโรธ (นิพพาน)
-มรรค (วิธีปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์-ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา)

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


โพสที่ยังไม่ได้อ่าน เมื่อ: 23 มิ.ย. 2020, 11:15 
 
ภาพประจำตัวสมาชิก
ออฟไลน์
สมาชิกระดับสูงสุด
สมาชิกระดับสูงสุด
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 ต.ค. 2006, 12:36
โพสต์: 33766

อายุ: 0

 ข้อมูลส่วนตัว


อริยสัจ ความจริงอย่างประเสริฐ, ความจริงของพระอริยะ, ความจริงที่ทำคนให้เป็นพระอริยะ มี ๔ คือ
ทุกข์ (หรือ ทุกขสัจจะ)
สมุทัย ( หรือ สมุทัยสัจจะ)
นิโรธ (หรือ นิโรธสัจจะ)
มรรค (หรือ มัคคสัจจะ)

เรียกเต็มว่า ทุกข (อริยสัจจ์)
ทุกขสมุทัย (อริยสัจจ์)
ทุกขนิโรธ (อริยสัจจ์) และ
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา (อริยสัจจ์)

อริ ข้าศึก, ศัตรู, คนที่ไม่ชอบกัน

อริยะ เจริญ, ประเสริฐ, ผู้ไกลจากข้าศึก คือ กิเลส, บุคคลผู้บรรลุธรรมวิเศษ มีโสดาปัตติมรรค เป็นต้น

.....................................................
https://dhammachati.blogspot.com/


แสดงโพสต์จาก:  เรียงตาม  
กลับไปยังกระทู้  [ 25 โพสต์ ]  ไปที่หน้า ย้อนกลับ  1, 2

เขตเวลา GMT + 7 ชั่วโมง


 ผู้ใช้งานขณะนี้

่กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 1 ท่าน


ท่าน ไม่สามารถ โพสต์กระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แก้ไขโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ ลบโพสต์ของท่านในบอร์ดนี้ได้
ท่าน ไม่สามารถ แนบไฟล์ในบอร์ดนี้ได้

ค้นหาสำหรับ:
ไปที่:  
Google
ทั่วไป เว็บธรรมจักร